ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
2
ปัญหาระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย
ประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ ความเป็นธรรมในการเข้าถึง บริการ ความแออัดของผู้รับบริการในสถาน บริการระดับสูง การใช้ทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม ไม่สอดคล้องกับบทบาท ของสถานพยาบาลในการให้บริการ การแข่งขันขยายบริการและเกิดการจัดสรรทรัพยากรที่มี อยู่อย่างจำกัดโดยขาดการวางแผนการจัดระบบบริการที่ดี ความไม่เป็นธรรมในการพัฒนา
3
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา และออกแบบระบบบริการ ให้มีขีดความสามารถที่จะรองรับความท้าทายในอนาคต 2. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่าย ให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว 3. ริเริ่มการขยายสถานบริการที่จำเป็น ปรับปรุง/เสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ ให้เป็นไปตามแผน
4
กรอบแนวคิด 1. Seamless Health Service Networks การจัดบริการในรูปเครือข่ายแทนการขยายโรงพยาบาลแห่งๆ เชื่อมโยงบริการทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิโดยไม่มีเส้นแบ่ง 2. Provincial Health Service Network มีเครือข่ายบริการระดับจังหวัดที่สามารถรองรับการส่งต่อตามมาตรฐานระดับจังหวัดอย่างสมบูรณ์ อย่างน้อย 1 เครือข่าย มีคณะกรรมการบริหารเครือข่าย 3. Referral Hospital Cascade ระดับโรงพยาบาลรับผู้ป่วยส่งต่อ ส่งต่อผู้ป่วย 3 ระดับ (ต้น กลาง สูง) ใช้ทรัพยากรภายในเครือข่ายที่มีอย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด หลีกเลี่ยงการลงทุนที่ซ้ำซ้อน และขจัดสภาพการแข่งขันกัน
5
เครือข่ายบริการระดับจังหวัด
Level Referral Advance รพศ. รพ.อุดธานี,สกลนคร High level รพท. Standard รพท.ขนาดเล็ก M1 รพ.กุมภวาปี,สว่งแดนดิน Mid level รพช.ขนาดใหญ่ M2 First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2 เครือข่ายบริการระดับจังหวัด
6
ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง(ศสม.) P1
เป็นสถานบริการผู้ป่วยนอกแบบเบ็ดเสร็จ ให้บริการแบบผสมผสานทั้ง งานส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู ตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชนเมือง มีประชากรในความรับผิดชอบไม่เกิน 30,000 คนต่อแห่ง มีขีดความสามารถด้านเวชปฏิบัติทั่วไป ทันตกรรม เภสัชกรรม ชันสูตร โรค กายภาพบำบัดหรือกิจกรรมบำบัด และการแพทย์แผนไทยหรือ แพทย์ทางเลือก สามารถตรวจรักษาผู้ป่วยนอกทั่วไป ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ตลอดจนกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง มีงานบริการเวชปฏิบัติครอบครัว และงานพัฒนาสุขภาพชุมชน ด้วยการ มี “แพทย์ประจำครอบครัว” ดูแลในมิติของสุขภาพองค์รวม การสร้าง ความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกโดย ให้ชุมชนมีบทบาทสำคัญ
7
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) P2
เป็นสถานบริการระดับปฐมภูมิให้บริการแบบ ผสมผสานทั้งงานส่งเสริม ป้องกัน รักษา และ ฟื้นฟู
8
โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก (ระดับ F3) First-level Referral Hospital
ขนาดเตียง 10 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ไม่จำเป็นต้อง ทำหัตถการ เช่น การผ่าตัดใหญ่ และไม่ จำเป็นต้องจัดบริการผู้ป่วยในเต็มรูปแบบ
9
โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง(ระดับ F2) First-level Referral Hospital
ขนาดเตียง เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และจัดบริการตาม มาตรฐานของบริการทุติยภูมิโดยไม่มีแพทย์ เฉพาะทาง
10
โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (ระดับ F1) First-level Referral Hospital
รพช. ขนาดเตียง เตียง ที่มีแพทย์เวช ปฏิบัติ หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และ แพทย์เฉพาะทางสาขาหลัก (อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินารีเวชกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรมกระดูก และวิสัญญีแพทย์) เป็นบาง สาขาเท่าที่มีอยู่ปัจจุบัน
11
โรงพยาบาลชุมชนเพื่อรับส่งต่อผู้ป่วย(ระดับ M2) Mid-level Referral Hospital
หมายถึง รพช. ขนาดเตียง 120 เตียงขึ้นไป ที่มี แพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว และแพทย์เฉพาะทางครบทั้ง 6 สาขาหลัก (อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินารีเวชกรรม กุมารเวช กรรม ศัลยกรรมกระดูก และวิสัญญีแพทย์) จะต้องมี แพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขาหลัก
12
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก (ระดับ M1) Mid-level Referral Hospital
13
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่ (ระดับ S) Standard-level Referral Hospital
เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญ เฉพาะ จึงประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขา หลัก สาขารอง และสาขาย่อยบางสาขา กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยระดับ มาตรฐาน
14
โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับ A) Advance-level Referral Hospital
เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญและ เทคโนโลยีขั้นสูงและมีราคาแพง (Advance & sophisticate technology) มีภารกิจด้านแพทยศาสตร์ ศึกษาและงานวิจัยทางการแพทย์ จึงประกอบด้วยแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อยครบทุก สาขาตามความจำเป็น กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่ง ต่อผู้ป่วยระดับสูง (ระดับ A) พัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญ
15
๑๒ เขต พื้นที่ P&P ทีม P&P ๑๙ เขต ๑ เขต ๑๒ เขต ๒ เขต ๓ เขต ๑๑ เขต ๔
เขต ๑๐ เขต ๕ เขต ๖ เขต ๙ เขต ๗ เขต ๘ ๑๙
16
เครือข่ายบริการ 12 เครือข่าย
เครือข่ายบริการที่ 1 เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 2 ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ (5 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 3 กำแพงเพชร ชัยนาท พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี (5 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 4 นครนายก นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 5 กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบุรี (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 6 จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง สระแก้ว สมุทรปราการ (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด (4 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 8 นครพนม บึงกาฬ เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดธานี (7 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 9 ชัยภูมิ นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ (4 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 10 มุกดาหาร ยโสธร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ (4 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 11 กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี (7 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 12 ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล (7 จังหวัด) 16
17
สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดอุดรธานี
F2 ระดับ จำนวน A 1 M1 M2 2 F1 F2 12 F3 3
18
เครือข่ายระบบส่งต่อของสถานบริการจังหวัดอุดรธานี
F2 อ.นายูง N F2 อ.สร้างคอม อ.น้ำโสม F2 M2 F1 F1 อ.บ้านดุง อ.บ้านผือ อ.เพ็ญ F2 อ.พิบูลย์รักษ์ อ.ทุ่งฝน F2 F2 อ.กุดจับ A อ.หนองหาน อ.เมืองอุดรธานี M2 อ.หนองวัวซอ อ.ประจักษ์ศิลปาคม F2 F3 F3 อ.ไชยวาน F2 อ.หนองแสง อ.กุมภวาปี อ.กู่แก้ว F2 อ.วังสามหมอ M1 F3 อ.ศรีธาตุ F2 อ.โนนสะอาด F2 F2
19
แผนพัฒนาระบบบริการ (Service Plan)
10 สาขา 1. โรคหัวใจและหลอดเลือด 2. โรคมะเร็ง 3. ทารกแรกเกิด 4. อุบัติเหตุ 5. จิตเวช 6. สูติ/ศัลยกรรม/อายุรกรรม/เด็ก 7. ตาไต 8. Primary Care 9. ทันตกรรม 10. NCD
20
จัดทำแผนพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
แผนพัฒนาโครงสร้างระบบบริการ แผนสนับสนุนทรัพยากร แผนพัฒนาคุณภาพบริการ แผนพัฒนาระบบส่งต่อ
21
สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดสกลนคร
A M1 M2 F1 F2 F3 ระดับ จำนวน A 1 M1 M2 F1 F2 13 F3
22
สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดนครพนม
สกลนคร บึงกาฬ มุกดาหาร สปป.ลาว s M2 F1 F3 F2 ระดับ จำนวน S 1 M2 F1 F2 8 F3
23
สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดเลย
S M2 F2 F3 ระดับ จำนวน S 1 M2 F2 11 F3
24
สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดหนองคาย
โพนพิสัย เมือง หนองคาย รัตนวาปี เฝ้าไร่ ท่าบ่อ สระใคร สังคม ศรีเชียงใหม่ โพธิ์ตาก M2 S F1 F3 F2 ระดับ จำนวน S 1 M2 F1 F2 2 F3 4
25
สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดหนองบัวลำภู
S F2 F1 ระดับ จำนวน S 1 F1 F2 4
26
สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดบึงกาฬ
F3 F2 F1 S ระดับ จำนวน S 1 F1 F2 5 F3
27
สถานบริการ จังหวัด อำเภอ รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. รพ.เอกชน รพ. ทหาร อุดรธานี 20 1 19 209 3 2 สกลนคร 18 16 167 นครพนม 12 11 152 เลย 14 13 127 หนองคาย 9 8 74 หนองบัวลำภู 6 5 83 - บึงกาฬ 7 61 รวม 87 79 873
28
ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง(ระดับบริการ)
ระดับสถานบริการ จังหวัด ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง(ระดับบริการ) ตติยภูมิ(แห่ง) NB CA TM Cardiac รพศ.(A) รพท.(S) รพท.(M1) อุดรธานี 2 1 - สกลนคร นครพนม เลย หนองคาย หนองบัวลำภู บึงกาฬ รวม 0/2 1/1 1/0 5
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.