ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE
2
คุณสมบัติเบื้องต้นของวงจร TUNE
วงจรจูนออสซิลเลเตอร์ วงจรขยายสัญญาณแบบซิงเกิลจูน วงจรขยายสัญญาณแบบดับเบิ้ลจูน สแตกเกอร์จูน
3
ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก 2 อย่างคือ ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ
คุณสมบัติเบื้องต้นของวงจร TUNE ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก 2 อย่างคือ ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ
4
ตัวเหนี่ยวนำ คือ ขดลวดที่มีค่า Impedance
คือ ค่าความสามารถในการเหนี่ยวนำ หน่วย H (เฮนรี่) ตัวเหนี่ยวนำ
5
ตัวเก็บประจุ คือ คาปาซิเตอร์ที่มีค่า Capacitance
คือ ค่าความสามารถในการเก็บประจุและคายประจุ หน่วย F (ฟารัด)
6
การเลือกความถี่นั้นจะต้องให้วงจร TUNE อยู่ในสภาวะ RESONANCE คือสภาวะที่ยอมให้ความถี่ใดความถี่หนึ่งผ่านได้ ส่วนความถี่ที่ไม่ใช่ความถี่ RESONANCE จะไม่สามารถผ่านวงจร TUNE ได้ XL คือ ค่าของขดลวดที่มีค่าไฟฟ้ากระแสสลับ หน่วย โอห์ม XL = 2πFL XC คือ ค่าความต้านทานของตัวเก็บประจุที่มีผลต่อไฟฟ้ากระแสสลับ หน่วย โอห์ม XC = 2πFC
7
2. วงจรจูนออสซิลเลเตอร์
2. วงจรจูนออสซิลเลเตอร์ จะใช้ขดลวด ต่อเป็นวงจร Resonance กับคาปาซิเตอร์ โดย L จะใช้ค่าคงที่ส่วน C ปรับค่าได้โดยต่อแกนทางด้านอินพุตและออสซิลเลเตอร์ร่วมกัน เพื่อรักษาผลต่างของความถี่เรโซแนนซ์ของวงจรจูนให้ได้ความถี่ที่ต้องการตลอดเวลา
8
3. วงจรขยายสัญญาณแบบซิงเกิลจูน
9
4. วงจรขยายสัญญาณแบบดับเบิ้ลจูน
10
5. สแตกเกอร์จูน
11
แบบฝึกหัด จงหาค่า Inductive Reactance เมื่อกำหนดให้
L = 8 H , f = 120 Hz L = 20mH , f = 6 KHz L = 40 mH , f = 1.5 kHz จงหาค่า Capacitive Reactance เมื่อกำหนดให้ 1. C = uF , f = 70 KHz C = uF , f = 10 KHz C = 10 pF , f = 140 MHz
12
จงหาค่าความถี่ Resonance เมื่อกำหนดให้
L = 200 H , C = uF L = 530 mH , C = 2.2 uF L = 100 mH , C = 20 pF L = 10 mH , C = 20 nF
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.