งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้พลังงานกับสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 พลังงานจากชีวมวล พลังงานจากฟอสซิล ดูเหมือนเป็นพลังงานหมุนเวียนได้
แต่การปลูกทดแทนเพื่อทำเชื้อเพลิง นาน ไม่คุ้ม เครื่องจักรที่ใช้เป็นแบบสันดาปภายนอก ประสิทธิภาพต่ำ เกิดแกสพิษน้อย ใช้งานไม่สะดวก หลังปฏิวัติอุตสาหกรรม พลังงานจากฟอสซิล น้ำมันเบนซิน ดีเซล แกสธรรมชาติ กาซหุงต้ม ฯลฯ ใช้แล้วหมดไป (อาจเกิดขึ้นใหม่ได้แต่ไม่น่าทันที่มนุษย์เอามาใช้) เครื่องจักรที่ใช้เป็นแบบสันดาปภายใน ประสิทธิภาพสูงกว่า เกิดแกสพิษหลายชนิด ใช้งานสะดวก

3 การลดมลพิษจากเครื่องยนต์สันดาปภายใน
มาตรฐาน euro II , euro III การเลิกใช้คาร์บูเรเตอร์(ผสมเชื้อเพลิงได้ไม่แม่นยำมากนัก)ในเครื่องยนต์เบนซินมาใช้ระบบควบคุมด้วยอิเล็กตรอนิกส์ (ผสมเชื้อเพลิงได้ตามโปรแกรมที่ปรับแต่งแก้ไขได้ง่าย มีการสังเกตสภาพไอเสียด้วยออกซิเจนเซนเซอร์ ทำให้ลดมลภาวะลงส่วนหนึ่ง) การใช้เครื่องกรองไอเสีย (Catalytic converter) เพื่อลดไอเสียที่ยังเหลืออยู่ การใช้ระบบหัวฉีดแรงดันสูงในเครื่องยนต์ดีเซล ทำให้ควันดำลดลง

4 คาบูเรเตอร์ของรถโฟล์กเต่าทอง
ข้อดีข้อเสียของคาร์บูเรเตอร์

5 ผังการทำงานอย่างง่ายของระบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์
ข้อดีข้อเสียของระบบอิเล็กทรอนิกส์

6

7 ออกซิเจนเซนเซอร์แบบ zirconia ให้แรงดันสัมพันธ์กับปริมาณออกซิเจนที่เหลือในไอเสีย

8 ยุคแรกๆเป็นเม็ด ปัจจุบันเป็นแบบรังผึ้ง ภายนอก Catalytic converter ที่อยู่

9 ไฟฟ้าจากเขื่อน พลังน้ำจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าในราคาต้นทุนต่ำ แต่มีปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ควรคำนึงเป็นอย่างมาก การสูญเสียเนื้อที่ป่าเป็นจำนวนมหาศาล เพื่อใช้เป็นอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อน ราษฎรในพื้นที่น้ำท่วมจึงจะต้องอพยพย้ายที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ สัตว์ป่าต่าง ๆ จะสูญเสียที่อยู่อาศัยหรืออาจจะสูญพันธุ์ไปโดยไม่สามารถป้องกันได้ แร่ธาตุต่าง ๆ ที่อยู่ในพื้นที่อาจจะถูกทิ้งให้จมอยู่ใต้น้ำ โดยไม่มีโอกาสนำขึ้นมาใช้ประโยชน์ ทรัพยากรต่าง ๆ เหล่านั้น ไม่สามารถจะประเมินออกมาเป็นตัวเลขได้

10 ปิโตรเลียม และ แกสธรรมชาติ
การขุดเจาะและผลิตน้ำมันปิโตรเลียม จะก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมได้ ผลที่จะเกิดขึ้นอาจจะมาจากวัสดุที่ใช้หล่อลื่นในการขุด (Drilling fluid) การระบายน้ำเค็ม ที่มีความเค็มสูงมากจากหลุมเจาะ และมีสารบางประเภทที่เป็นพิษปะปนออกมาด้วย เช่น ปรอท แคดเมียม โครเมียม เป็นต้น การใช้แกสธรรมชาติผลิตฟ้า เกิดมลภาวะทางอากาศน้อยกว่าการใช้ไฟฟ้า

11 ผลิตไฟฟ้าจากลิกไนต์ ผลิตไฟฟ้าจากลิกไนต์เกิดมลภาวะทางอากาศ เช่น ฝนกรด เถ้าลอยที่เกิดจากการเผาไหม้ การทำเหมืองลิกไนต์ เกิดมลภาวะต่อแหล่งน้ำใต้ดิน

12 เถ้าลอย เป็น อนุภาคขนาดเล็กที่เป็นผลมาจากการเผาถ่านหินในขบวนการผลิตไฟฟ้า
เริ่มเดิมทีเถ้าลอยเป็นล้านตันต่อปีกลายเป็นภาระที่ต้องจัดการโดยต้องขนเถ้าถ่านหินไปทิ้ง ต่อมาพบว่า เถ้าลอยเมื่อนำไปทดแทนปูนซีเมนต์ในการผสมคอนกรีตในอัตราส่วนที่เหมาะสมจะช่วยเสริมให้คอนกรีตรับแรงได้มากขึ้น เถ้าลอยจะเข้าไปแทรกในช่องว่างของเนื้อปูนซีเมนส์ทำให้เนื้อคอนกรีตแน่นขึ้น ทึบขึ้น ส่งผลให้น้ำ ความเค็ม ความชื้น ผ่านเข้าไปในเนื้อปูนรวมถึงเนื้อเหล็กภายในได้ยากขึ้น ผลคือคอนกรีตนั้นแท่งนั้นทนทานต่อการกัดกร่อน และมีอายุการใช้งานที่นานขึ้นด้วย

13 Green House effect โลกมีชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศมีการกั้นไม่ให้รังสีความร้อนสะท้อนออกไปจนหมด ขึ้นกับชนิดของกาซที่มีในชั้นบรรยากาศ ดวงจันทร์ไม่มีบรรยากาศ จึงไม่มี Green house effect ถ้าไม่มีเลย Tav ของโลกจะไม่ใช่ 15  C แต่เป็น -18 C มนุษย์เองที่ทำให้มี Green house effect มากกินไป

14 Green house หมายถึงเรือนกระจกที่ช่วยให้อุณหภูมิภายในสูงกว่าสิ่งแวดล้อม

15 ปริมาณ (ส่วนต่อพันล้านโดยปริมาตร) อัตราการเพิ่ม ( ร้อยละต่อปี )
ชนิดก๊าซเรือนกระจก ปริมาณ (ส่วนต่อพันล้านโดยปริมาตร) อัตราการเพิ่ม ( ร้อยละต่อปี ) แหล่งที่มาของก๊าซ 1. คาร์บอน-ไดออกไซด์ 344,000 0.40 การเผาไหม้ถ่านหินและปิโตรเลียมร้อยละ 80 การเผาอินทรียวัตถุร้อยละ 20 2. มีเทน 1,650 1.00 การหมักเน่านาข้าว คอกสัตว์และก๊าซธรรมชาติ 3. ไนตรัสออกไซด์ 304 0.25 4. คลอโร-ฟลูออโรคาร์บอน 4.1 CFC - 11 0.23 5.00 ก๊าซขับดันสารทำความเย็นและการผลิตโฟม 4.2 CFC - 12 0.4 5. คาร์บอนเตตระ-คลอไรด์ น้ำยาดับเพลิง ตัวทำละลาย 6. เมทิลคลอโรฟอร์ม 1.125 7.00 สารที่ใช้ทำความเย็น 7. คาร์บอน-มอนอกไซด์ ไม่แน่นอน 0.20 ไอเสียเครื่องยนต์

16 Global warming

17 Ozone depletion การสูญเสียชั้นโอโซน
โอโซนทำหน้าที่ป้องกันแสงอุลตราไวโอเลต สารพวก CFC จะสลายโอโซนที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เราจะได้อันตรายจากแสงอุลตราไวโอเลต ชนิด UVB เช่น มะเร็งผิวหนัง ต้อกระจก หรือ ภูมิคุ้มกันลดลง UVA nm โอโซนไม่ได้กั้นเอาไว้ UVB nm อันตรายต่อ DNA ในเซล โอโซนกั้นเอาไว้ได้ UVC < 280 nm : อันตรายมากที่สุด : ออกซิเจนในบรรยากาศดูดไปหมด

18

19

20 ผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ทางตรง และ ทางอ้อม
น้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่ว แกสโซฮอล์ น้ำมันดีเซลกำมะถันต่ำ ไบโอดีเซล Catalytic converter Hybrid car , Fuel Cell CAR EURO II , EURO III standard สารทำความเย็น R 134a ที่มาแทน R12 และ R22 Enegy STAR

21 งานในชั้นเรียน 1 ความแตกต่างระหว่าง Ozone depletion และ Global warming ในประเด็นสำคัญต่อไปนี้ สาเหตุ ลักษณะ ผลกระทบ การแก้ไข 2 อธิบายความเหมาะสมในการใช้พลังงาน กับ เศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 3 อธิบายการทำงานของระบบจ่ายเชื้อเพลิงด้วยอิเล็กทรอนิกส์ด้วยผังการทำงานอย่างง่าย


ดาวน์โหลด ppt การใช้พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google