ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNibun Kasemsarn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์การดำเนินงาน สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
2
ระบบ สุขภาพ การ ให้บริการ สุขภาพ ผลิตภัณ ฑ์สุขภาพ ระบบ การเงิน สุขภาพ ข้อมูล ข่าวสาร กำลังคน ด้าน สุขภาพ ธรรมาภิ บาลและ การชี้นำ การมีส่วน ร่วม
3
หน่วย บริการ กรม วิชาการ องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น การจัดการงบประมาณ PP A C T I N G Out putt Outcome
4
การบริหารงบ PP Expresseddemand Area based NationalPriorityCommunity หน่ว ย บริก าร อป ท. หน่ว ย บริก าร ภาค ประ ชาช น Centra l Perfor ment Proj ect เฉพ าะ อป ท. หน่ว ย บริก าร
5
แหล่งข้อมูล/รายงาน ข้อมูล/รายงานประเภท/ชนิดข้อมูลแหล่งข้อมูล 1. 0110 รง. 5 Secondary data (สรุปกิจกรรมบริการ) กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ 2. รายงานโครงการสายใยรักSecondary data (กิจกรรมอนามัยแม่และเด็ก) กรมอนามัย 3. ทะเบียนวัคซีนไข้หวัดใหญ่Primary data (ข้อมูลรายบุคคล) สปสช. 4. ทะเบียนคัดกรองมะเร็งปาก มดลูก Primary data (ข้อมูลรายบุคคล) สถาบันมะเร็งฯ 5. ทะเบียนเคลือบหลุมร่องฟัน และทะเบียนฟันเทียม Primary data (ข้อมูลรายบุคคล) กองทันตฯ กรม อนามัย 6. โปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง (PPIS) Primary data (ข้อมูลรายบุคคล) สปสช.
6
การประเมินผล OUT PUT ผลการดำเนินงานปี 51
7
ผลงานการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก กิจกรรม ผลงานเปรียบเทียบสิทธิ (คน/ร้อยละ) ผลงาน รวม (คน) UC % non-uc % บริการฝากครรภ์ 868,174 68.00 408,569 32.00 1,276,743 บริการตรวจหลังคลอด 283,883 74.46 97,365 25.54 381,248 การเฝ้าระวังตรวจคัดกรองโรค Thalassemia 1. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรอง (ร้อยละเปรียบเทียบจำนวนการฝากครรภ์)423,66648.80176,78343.27 600,449 (47.03%) 2. ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (ร้อยละเปรียบเทียบกับการคัดกรอง)29,8257.0427,23715.41 57,062 (9.51) การตรวจคัดกรองภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมน 1. การตรวจคัดกรอง469,199168,045637,244 2. การตรวจยืนยัน (ร้อยละเปรียบเทียบกับการคัดกรอง)22,0564.706,4303.83 28,486 (4.47) 3. การรักษา (ร้อยละเปรียบเทียบกับที่ตรวจยืนยัน)9,69543.962,80943.69 12,504 (43.90)
8
จำนวนการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม วิเคราะห์จาก 0110 รง 5 โดย ภัทรภรณ์ ศรีเพ็ง และ สาหร่าย เรืองเดช
10
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปาก มดลูกด้วยวิธี VIA ( ดำเนินงานใน 15 จังหวัด ) 2548254925502551 เป้าหมาย 100,000 ผลงาน 47,41858,01856,90938,331 Achievement 47.42%58.02%56.91% 38.33% ผลผิดปกติ 4,377 (7.55%) 2,780 (4.89%) 1,090 (2.85%) - ได้รับการจี้ เย็น 3,1592,112727 - ส่งต่อ ( รอยโรคเกิน จี้เย็น ) 1,218668363
11
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap Smear ในกลุ่มอายุ 35, 40, 45, 50, 55, 60 ปี 2548254925502551 เป้าหมาย834,394800,000 ผลงาน405,756435,995381,919416,910 Achievement 48.6%54.5%47.7%52.1% ผลผิดปกติ3,169 (0.8%) 5,227 (1.2%) 6,474 (1.7%) 3,830 (0.9%) Low Grade1,8142,9083,8302,257 High Grade1,1412,0132,3091,354 Cancer214306335219
12
การตรวจคัดกรองความเสี่ยง - การตรวจคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
13
ผลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเทียบกับเป้าหมาย กิจกรรม (เป้าหมาย 50%ของประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป) UC (14,532,350 คน) Non - uc (4,949,895 คน) รวม (19,482,245 คน) จำนวนร้อยละจำนวนร้อยละจำนวนร้อยละ การตรวจคัดกรองความเสี่ยง (ร้อยละต่อเป้าหมาย) 5,132,98135.322,994,736 60.508,127,717 41.09 มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ (ร้อยละของผลงานคัดกรอง) 4,452,85986.752,684,732 89.657,137,591 87.82 ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ร้อยละของผู้มีพฤติกรรมเสี่ยง) 834,85218.75 271,581 10.121,106,43315.50 ยกเว้นเขตกทม.
14
ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเทียบกับกลุ่มเสี่ยง ยกเว้นกทม. ปัจจัยเสี่ยง ผู้มีพฤติกรรม เสี่ยง ต่อการเกิด (คน) ร้อยละแยก ประเภทกลุ่ม เสี่ยง ผู้เข้ารับการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยง (คน) ผู้เข้ารับการ ปรับเปลี่ยนเทียบ กลุ่มเสี่ยง (%) เบาหวาน (DM)211,6722.97583,553275.69 ความดันโลหิตสูง (HT)3,229,49245.25601,41418.62 หลอดเลือดสมอง(Stroke)1,951,40027.34310,20915.90 การสูบบุหรี่1,046,40614.66388,33737.11 การดื่มแอลกอฮอล์2,800,81639.24363,28812.97 การออกกำลังกาย3,678,69751.54439,22811.94 การบริโภคอาหาร2,754,26838.59428,38515.55 การขับขี่/โดยสารรถจักรยานยนต์/ รถยนต์1,187,55416.64272,55422.95 ด้านอนามัยเจริญพันธุ์1,647,06323.08264,02716.03 ภาวะโภชนาการเกิน2,195,26330.76410,25018.69 รวม7,137,5911,106,43315.50
15
บริการด้านทันตกรรม
16
ผลการตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ป.1และ ป.3 ปีงบประมาณ จำนวน เด็ก ป.1 * (6 ปี) ผลการ ตรวจฟัน เด็ก ป.1 ความ ครอบคลุม ( % ) จำนวนเด็ก ป.3 * (8 ปี) ผลการ ตรวจฟัน เด็ก ป.3 ความ ครอบคลุม ( % ) 2549833,434787,96294.54967,734837,01286.49 2550836,465888,211106.19894,694846,79694.65 2551793,192493,72962.25836,206441,16552.76 หมายเหตุ * ตัวเลขเป้าหมายตามทะเบียนราษฎร์ให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ป.1และเด็ก ป.3 (100%)
17
ผลการให้บริการเคลือบหลุมร่อง ฟันเด็ก ป.1 ปีงบประ มาณ จำนวน เด็ก ป.1 (6 ปี ) ผลงาน บริการ เคลือบ คลุม ร่องฟัน ( คน ) ความ ครอบ คลุม ( % ) เป้าหมา ย Sealant ( ซี่ ) ผลงาน ( ซี่ ) ความ ครอบค ลุม ( % ) 2549833,434496,26359.542,000,2421,279,73263.98 2550836,465602,69772.052,091,1631,707,62081.66 2551793,192330,69441.691,982,980953,60348.09
18
การประเมินผล PROCESS OUT PUT OUT COME INNOVATION HILIGHT Feed Back System Network Development
20
PP-Area based ProcessOut put กระจายการตัดสินใจ ( อนุกรรมการ, แผนระดับ พื้นที่ ) พัฒนากระบวนการทำงาน ( บูรณาการ, ร่วมมือ ) แก้ไขปัญหา ตามความ จำเป็นของพื้นที่ พัฒนานวัตกรรม พัฒนาระบบการกระจาย งบประมาณ โรค สถานะสุขภาพ Model Development -Composite Indicator - 14 ภาระโรค
21
PP Community based ProcessOut put การบูรณาการงานสร้าง เสริมสุขภาพระดับท้องถิ่น - งาน - งบประมาณ - การมีส่วนร่วมของชุมชน เน้นการให้บริการตาม setting - งานเยี่ยมบ้าน - งานอนามัยโรงเรียน - งานอนามัยชุมชน - การสร้างเสริมสุขภาพ อย่างยั่งยืนโดยชุมชน Out come
22
การประเมินผล PROCESS การพัฒนาความ ร่วมมือกับ สสส. (Link) สำนักงาน ประกันสังคม กรมวิชาการ กองทุน สุขภาพท้องถิ่น ฯลฯ
23
กุศโลบายของกองทุนสุขภาพ ชุมชน 1. การวางระบบที่ยั่งยืนและต่อเนื่อง 2. เม็ดเงินในพื้นที่ระดับล่าง 3. ความยืดหยุ่นและคล่องตัวของการ ใช้งบประมาณ 4. ความรู้สึกเป็นเจ้าของของชุมชน 5. เปิดช่องทาง “ ความคิดสร้างสรรค์ และ นวัตกรรม ”
24
ลำ ดับ สปสช.สาขา เขตพื้นที่ จำนวนอปท. ทั้งหมด (แห่ง) จำนวนอปท. พื้นที่ปีเดิม 49-50 (แห่ง) จำนวนอปท. พื้นที่ใหม่ ปี 51 (แห่ง) รวม ทั้งสิ้น (แห่ง) คิดเป็น ร้อยละ 1เชียงใหม่82318924643553 2พิษณุโลก4711046516936 3นครสวรรค์4591107318340 4สระบุรี65715013028043 5ราชบุรี698131813920 6ระยอง58713611224842 7นครราชสีมา8591957026531 8ขอนแก่น7222266829441 9สกลนคร7227514421930 10อุบลราชธานี6636911118027 11สุราษฎร์ธานี566555010519 รวม7,8511,5041,1852,68934 ร้อยละการเข้าร่วมระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปี 2551
25
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.