งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“อนาคตผู้สูงอายุในประเทศไทย”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“อนาคตผู้สูงอายุในประเทศไทย”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “อนาคตผู้สูงอายุในประเทศไทย”
15 พฤษภาคม โรงพยาบาลสุรินทร์ โดย นายแพทย์วิวัฒน์ วิริยกิจจา รองอธิบดีกรมการแพทย์

2 อนาคตผู้สูงอายุในประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
หลักการคิด หลักวิชา หลักการกระทำ

3 หลักการคิด ใครเป็นผู้ดูแลผู้สูงวัย
รู้ถึงปัญหาของตนเองในอนาคต สามารถจัดการกับปัญหาของตนเองในอนาคตได้ สุขภาพดี อายุยืนยาว แก่ช้า ทำเป็นตัวอย่าง กับพ่อแม่ของเราและตัวเราเอง Systematic Thinking

4 Learn How To Learn (เรียนรู้วิธีการที่จะเรียนรู้)

5 กรณีศึกษา ใครเอาเนยแข็งของฉันไป

6

7

8

9

10

11

12

13

14 ความคิดเชิงระบบ Systems Thinking

15 ระบบ คือ การอยู่ดำรงคงไว้ได้ทั้งมวลขององค์ประกอบต่างๆ ที่ทำหน้าที่รวมกันเป็นหนึ่ง

16 การคิดเชิงระบบ เป็นพื้นฐานสำหรับความคิดและการสื่อสารที่กระจ่างชัด ทำให้เห็นและเข้าใจสิ่งต่างๆได้มากขึ้น ด้วยมุมมองที่กว้างและแตกต่าง จะทำให้คุณเห็นสิ่งที่เกิดขึ้น และปฏิบัติในสิ่งที่เป็นผลดีทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

17 การคิดเชิงระบบ เปรียบเสมือนเครื่องมือทางธุรกิจ ที่จะช่วยให้คุณสามารถมองเห็นได้ตลอดทั้งกระบวนการ ซึ่งเป็นการมองหาจุดที่ต้องปรับปรุงได้เป็น อย่างดี รวมไปถึงการสร้างทีมงานที่จะต้องดำเนินการไปอย่างเป็นระบบ

18 การคิดเชิงระบบ [Systems Thinking]
บุคลากรในองค์การจะต้องผนึกกันเป็นทีม เพื่อเรียนรู้รูปแบบทางความคิดที่เหมาะสม บริหารปัจจัยต่างๆที่มีผลกระทบกับองค์กร สู่การบรรลุวิสัยทัศน์ร่วมกันขององค์กรต่อไป

19 ยุคสมัยของพลังมันสมอง การมีทรัพยากรมากเท่าใดไม่สำคัญเท่ากับว่า มีสติปัญญาจัดการทรัพยากรได้ดีเพียงใด
เคราะห์ร้ายทุกอย่างต้องเป็นสีเขียว

20 จากสิ่งที่คุณปฏิบัติ
การกระทำใด ๆ Plan Do การตัดสินใจ การป้อนกลับของ ประสบการณ์และผล จากสิ่งที่คุณปฏิบัติ Check Action

21 ความสมดุลของเหลว ในร่างกาย ดื่มน้ำ กระหายน้ำ

22 หลักวิชา Geriatric Medicine Anti Aging Rejuvinile Bhutology
Management Flame work

23 แปลว่า เทคโนโลยี่ที่เหมาะสมซึ่งกำกับด้วยคุณธรรม จริยธรรม
พุทโธโลยี่ แปลว่า เทคโนโลยี่ที่เหมาะสมซึ่งกำกับด้วยคุณธรรม จริยธรรม

24 ข้อมูลข่าวสาร Information วิเคราะห์ สังเคราะห์

25 ความรู้ Knowledge นำไปใช้ประโยชน์

26 เทคโนโลยี Technology ดัดแปลงให้ เหมาะสมกับพื้นที่

27 เทคโนโลยีที่เหมาะสม Appropriates Technology คุณธรรม จริยธรรม

28 พุทโธโลยี่

29 ทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อประโยชน์ 5 ลำดับ
ลำดับที่ 1 ประโยชน์ของแต่ละคน ปัจเจกบุคคล ลำดับที่ 2 ประโยชน์ขององค์กร ลำดับที่ 3 ประโยชน์ของมหาชน ลำดับที่ 4 ประโยชน์ของชาติ ลำดับที่ 5 ประโยชน์ของโลก

30 คนเราประกอบด้วยอะไรบ้าง
ร่างกาย จิตใจ สังคม วิญญาณ

31 มุมมองของหลายๆ มุม การเมืองการปกครอง กระแสโลกาภิวัฒน์ สังคม - วัฒนธรรม
เทคโนโลยี การศึกษา คุณภาพชีวิต สุขภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

32 ปัญหา = (สิ่งที่น่าจะเป็น - สิ่งที่เป็นอยู่) X อาทร

33 = ร่างกายที่แข็งแรง + ความคิดที่แยบยล + ความรู้สึกที่เหมาะสม
ความสำเร็จของมนุษย์

34 SWOT, BSC, Bench mark KM ฯลฯ
Management Frame work Internal audit Contract out บริหาร cost Survive Future SWOT, BSC, Bench mark KM ฯลฯ วิชาการ ปฏิบัติการ Values Effectiveness Proactive สหวิชาชีพ People center R/D,R-2R HA ISO PSO ฯลฯ

35 หลักการกระทำ ROAD MAP 7 ขั้นตอน
หาวิธีคิด : ควรจะคิดอย่างไรกับสิ่งที่จะกระทำ ทำเป็นตัวอย่าง : เราควรเป็น Model ต้นแบบ หาสถานการณ์ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต นำเสนอต่อสาธารณชน (PR เป็นสิ่งที่กรมฯขาดไป) ผลักดันสู่นโยบาย ลงมือทำ : Policy and Partnerships for Action Countable Evaluation

36 4 หลักการ 1. คิดใหญ่ : ทำเล็ก คิดกว้าง : ทำแคบ คิดละเอียด : ทำหยาบ
4 หลักการ 1. คิดใหญ่ : ทำเล็ก คิดกว้าง : ทำแคบ คิดละเอียด : ทำหยาบ 2. ทำเป็นขั้นเป็นตอน 3. ทำเรื่องยากๆ ให้เป็นเรื่องง่าย 4. มีผู้รับผิดชอบเป็นรายบุคคล

37 การทำงานถ้าเราใช้.... R - 2 – R หรือ R/D Routine to Research
งานประจำทำเถิด จะเกิดผล งานวิจัยคู่งานประจำ นำคน อยู่กับงานประจำจนไม่จำเจ

38 ถามตนเอง 4 ข้อ 1.ภาระงานของเราคืออะไร งานหลัก งานรอง งานจร
2.สถานการณ์ของงานเรา อดีต ปัจจุบัน อนาคต 3.ปริมาณงาน มาก พอดี น้อย ถ้าเรารู้สึกว่างานหนัก แสดงว่า ร่างกาย อ่อนแอต้องรีบทำให้ร่างกายแข็งแรง 4. ปี นี้ ... เราจะทำอะไร ทำอย่างไร เสร็จเมื่อใด รู้ได้อย่างไรว่าเสร็จ

39 ขั้นตอนการสร้างพลังให้ตนเอง
- คุณธรรม จริยธรรม - ใช้หลัก “พุทโธโลยี” พุทโธโลยี คือ เทคโนโลยี่ที่เหมาะสม ซึ่งมีคุณธรรมและจริยธรรม กำกับอีกที

40 การสร้างพลังให้กับตนเอง 8 ขั้นตอน
เราเป็นส่วนหนึ่งของสังคม มิใช่สังคมเป็นส่วนหนึ่งของเรา โลกมีไว้ให้อยู่ มิใช่มีไว้ให้แบก เราเป็นฟันเฟืองหนึ่งของเครื่องจักร สำคัญพอควร พบความทุกข์ยากให้มองคนที่ทุกข์ยากกว่าเรา ถ้าอิจฉาผู้อื่น มองคนที่ต่ำต้อยกว่ามีอีกมาก

41 การสร้างพลังให้กับตนเอง 8 ขั้นตอน
5. ถ้าหมดแรง หยุด นึกย้อนไปในอดีต นำความสุข ความสำเร็จในอดีตมาเป็นเครื่องหล่อเลี้ยงจิตใจ ณ ปัจจุบันซึ่งเป็นพลังการต่อสู้ปัญหาในอนาคต 6. หมดแรงจริงๆ หาคนเติมพลังให้ 7. จิตใจที่เข้มแข็งอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง ลงมือออกกำลัง 8.นึกถึงสิ่งที่มีพลัง นึกถึงในหลวงของเรา

42


ดาวน์โหลด ppt “อนาคตผู้สูงอายุในประเทศไทย”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google