การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ
อ.ดร.เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ ผศ.ดร.มาเรียม นะมิ ผศ.วิชยุทธ จันทะรี อ.ศศิกาญจน์ หมอกมีชัย อ.สัชฌุเศรษฐ์ เรืองเดชสุวรรณ อ.สาโรจน์ นราศรี อ.ดร.อนันต์ มาลารัตน์ อ.อภินันท์ ศรีไพวัลย์ 10 วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554

2 1. ลักษณะงานคุณภาพ ตรงสาขาวิชาชีพ มีขั้นตอนที่ชัดเจน ประเมินผลได้
เกิดประโยชน์ต่อสถานประกอบการ ไม่ยาก-ง่ายเกินไป คำนึงถึงความปลอดภัย

3 2. เกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดคุณสมบัติของสถานประกอบการ
งานตรงกับสาขาวิชาชีพ Profile ตรงตามมาตรฐาน มีโอกาสในการแสดงศักยภาพ/ความสามารถในการปฏิบัติงาน มีโอกาสที่จะได้งานในอนาคต มีการจ่ายค่าตอบแทน มีความเข้าใจต่อการดำเนินงานสหกิจศึกษา ประสานงานได้ง่าย

4 3.แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการหาสถานประกอบการ
- สมาคม TACE /WACE/BOI - หอการค้า/สภาอุตสาหกรรม - สมาคมวิชาชีพ - สมาคมศิษย์เก่า - ผู้นำชุมชนท้องถิ่น - กรมการจัดหางาน/แรงงานจังหวัด -สื่อ เช่น internet เป็นต้น

5 4. วิธีการในการหางานคุณภาพ
4.1 การหางานโดยคณาจารย์ Personal contact 4.2 การหางานโดยเจ้าหน้าที่ Check Sheet

6 5. กระบวนการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสหกิจศึกษา
ภาค/ปี เนื้อหา ชั้นปีที่ 1 - Introduction to CE. ชั้นปีที่ 2 - พัฒนาทักษะที่จำเป็น ชั้นปีที่ 3 - วัฒนธรรมองค์การ - การบริหารงานคุณภาพ - ทักษะการเขียน Resume - ทักษะการเขียนรายงาน

7 6. คุณสมบัติของนักศึกษาสหกิจศึกษา ควรกำหนดใน 3 ด้าน
ด้านวิชาการ ด้านกิจกรรม ด้านอื่น เช่น สุขภาพ ทัศนคติ

8 7. ทักษะที่สำคัญของคณาจารย์นิเทศ
ภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีม การจูงใจ การสื่อสาร/นำเสนอ/เจรจาต่อรอง การใช้ ICT การแก้ปัญหาและตัดสินใจ การบริหารความขัดแย้ง

9 8. ข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ในการทำหน้าที่คณาจารย์นิเทศ
เอกสารต่าง ๆ เช่น แผนการนิเทศ ข้อมูลโครงงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา Profile ของสถานประกอบการ Profile ของนักศึกษา ตำแหน่งงาน / รายละเอียดงาน

10 9. การติดตามดูแลและให้คำปรึกษา
การรายงานตัว ที่อยู่ขณะปฏิบัติงาน และ Map ปัญหา อุปสรรค โครงงาน

11 10. ข้อควรปฏิบัติในการนิเทศงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาข้อมูลนักศึกษา มีแผนการนิเทศที่ชัดเจน ประสานงานกับสถานประกอบการ ต้องนิเทศในสถานประกอบการอย่างน้อย 1 ครั้ง และไม่ต่ำกว่า 1 ชั่วโมง คณาจารย์นิเทศต้องพบทั้ง 3 ฝ่าย (ผู้นิเทศ, อาจารย์นิเทศ, นักศึกษา)

12 11. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
การประเมินเป็น S หรือ U โดยใช้เกณฑ์ ผลสำเร็จของงาน พฤติกรรมในการทำงาน คุณภาพของรายงาน การนำเสนอผลงาน *หมายเหตุ สัดส่วนการให้คะแนนระหว่างผู้นิเทศและคณาจารย์นิเทศเท่ากับ 50:50

13 12. รูปแบบกิจกรรมหลังกลับ
สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัด Coop open house จัดประกวดและแสดงโครงงานดีเด่น

14 13. ปัจจัยที่ทำให้สำเร็จ
13.1 มีความเข้าใจตรงกันระหว่าง สถานประกอบการ คณาจารย์ และนักศึกษาสหกิจศึกษา 13.2 มีการเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงานที่ดีเยี่ยม 13.3 มีการประสานงานอย่างต่อเนื่องตามแผนงานที่กำหนด

15 14. การประเมินประสิทธิภาพคณาจารย์นิเทศ
ความรับผิดชอบ โดย : ผู้นิเทศงานและนักศึกษาสหกิจศึกษา ความพึงพอใจของสถานประกอบการ โดย : ผู้นิเทศงาน การให้คำปรึกษานักศึกษาสหกิจศึกษา โดย : นักศึกษาสหกิจศึกษา

16 15. แนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาค่าตอบแทน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง (ข้อมูลมาตรการภาษี /CSR) ต่อรองเพื่อขอสวัสดิการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ตัวเงินทดแทน เช่น รถรับ-ส่ง อาหาร ชุดฟอร์ม เป็นต้น ปัญหาการมีโอกาสเลือก ของสถานประกอบการและนักศึกษา จัด Coop Open House วางแผนการดำเนินงานสหกิจศึกษาในระยะยาว ปัญหาคณาจารย์นิเทศใช้เวลาในการนิเทศน้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อครั้ง การกำหนดกรอบ/ประเด็นการนิเทศที่


ดาวน์โหลด ppt การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google