ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบเครื่องปรับอากาศ
4/5/2017 การประหยัดพลังงาน ระบบเครื่องปรับอากาศ 1 1
2
สมาชิก อาจารย์วินัย ฤทธิ์เดช โรงเรียนเทคโนโลยีแหลมทอง
4/5/2017 สมาชิก อาจารย์วินัย ฤทธิ์เดช โรงเรียนเทคโนโลยีแหลมทอง อาจารย์เกษณรงค์ ค้ำชู วิทยาลัยการอาชีพพานทอง อาจารย์จรัล แก้วรัตนะ วิทยาลัยการอาชีพเบตง อาจารย์ประกายมาส โพธิ์จันทร์ โรงเรียนเทคโนโลยีหมู่บ้านครู 2 2
3
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
4/5/2017 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการทำงานเบื้องต้นของระบบปรับอากาศได้ 2. บอกชื่ออุปกรณ์ในระบบปรับอากาศได้ 3. อธิบายแนวทางการประหยัดพลังงานของระบบปรับอากาศได้ 3 3
4
โครงสร้างของเครื่องทำความเย็นเบื้องต้น
บทที่7 การประหยัดพลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 90 อ้างอิงแผ่นใส ES 086
5
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) แบบสกรู แบบลูกสูบ แบบโรตารี่ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 53 อ้างอิงแผ่นใส IC 066 ทำหน้าที่ขับเคลื่อนสารทำความเย็นให้หมุนเวียนในระบบ 5
6
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
2. คอนเดนเซอร์ (Condenser) บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 52 อ้างอิงแผ่นใส IC 067 6
7
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
3. อุปกรณ์ลดความดัน ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณสารทำความเย็นที่ ไหลเข้าไปในอีวาพอเรเตอร์ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 53 อ้างอิงแผ่นใส IC 068 7
8
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
4. อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) คือ อุปกรณ์ที่ให้ความเย็น ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนสภาวะของสารทำความเย็นจากของเหลวกลายเป็นแก๊ส บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 53 อ้างอิงแผ่นใส IC 069 8
9
หลักการทำงานเครื่องทำความเย็นเบื้องต้น
Capillary tube Evaporator Filter drier Compressor Condenser
10
เครื่องปรับอากาศแบบรวมศูนย์ (Chiller)
บทที่7 การประหยัดพลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 91 อ้างอิงแผ่นใส ES 089
11
หลักการและการอนุรักษ์พลังงานในระบบความเย็นและปรับอากาศ
11
12
ระบบปรับอากาศชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำ
บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 54 อ้างอิงแผ่นใส IC 070 12
13
ระบบทำความเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ
บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 55 อ้างอิงแผ่นใส IC 071 13
14
หลักการและการอนุรักษ์พลังงานในระบบความเย็นและปรับอากาศ
AHU หลักการและการอนุรักษ์พลังงานในระบบความเย็นและปรับอากาศ 14
15
ภาระของการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ
ความร้อนจากภายนอกอาคาร - ดวงอาทิตย์ - ร่างกายคน - การรั่วซึม คอมพิวเตอร์ พัดลมระบายอากาศ - ระบบระบายอากาศ หลอดไฟ ความร้อนจากภายในอาคาร บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 54 อ้างอิงแผ่นใส IC 070 กระติกน้ำร้อน ตู้เย็น - อุปกรณ์ไฟฟ้า 15
17
ระดับ EER ของเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว
ระดับประสิทธิภาพ ค่า EER เบอร์ ต่ำกว่า 8.6 เบอร์ ตั้งแต่ 8.6 ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 9.6 เบอร์ ตั้งแต่ 9.6 ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10.6 เบอร์ ตั้งแต่ 10.6 ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 11 เบอร์ ตั้งแต่ 11 ขึ้นไป
18
ประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว
Energy Efficiency Ratio ; EER EER = ความสามารถในการทำความเย็น (BTU/h) กำลังไฟฟ้า (W)
19
เครื่องปรับอากาศระบบอินเวอร์เตอร์
20
การบำรุงรักษาระบบปรับอากาศ
บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 61 อ้างอิงแผ่นใส IC 075 - ล้างทำความสะอาดคอยล์ - หล่อลื่นพัดลมทุกตัว - ตรวจเช็คสารทำความเย็น 20
21
การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศ
- ลดความร้อนจากภายนอกอาคาร - เลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน - ตั้งอุณหภูมิให้เหมาะสมเพื่อให้มีเวลาพักการทำงาน บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 58 อ้างอิงแผ่นใส IC 073 - อย่างน้อยปีละครั้ง ควรใช้ช่างตรวจระบบการทำงาน 21
22
การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศ
-ตั้งค่าอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิให้พอเหมาะ -หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ คอยล์เย็น และคอนเดนเซอร์ระบายความร้อน บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 60 อ้างอิงแผ่นใส IC 074 -ติดตั้งคอนเดนเซอร์ในบริเวณที่เหมาะสม 22
23
จบ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 60 อ้างอิงแผ่นใส IC 074 23
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.