ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChairat Srisati ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นายแพทย์ สมชัย นิจพานิช ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 4
2
สถานการณ์และสภาพปัญหา
สถานการณ์และสภาพปัญหา อำเภอเป็นจุดเชื่อมโยงการดำเนินงาน การ บริหารทรัพยากรจากส่วนภูมิภาค สู่ส่วน ท้องถิ่น และชุมชน มีการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพอยู่แล้ว แต่ขาดการเชื่อมโยงภาพเชิงระบบ และมี ความเข้มแข็งแตกต่างกัน ในแต่ละพื้นที่
3
แนวทางการแก้ปัญหา 1 สร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางและการดำเนินการร่วมกันระหว่างสสจ. / สคร. / อปท. และหน่วยงานหลัก ที่เกี่ยวข้องในระดับส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชน 2 การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือของจังหวัดในการกระตุ้น ผลักดัน ส่งเสริม ให้หน่วยงานระดับอำเภอมีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นระบบส่งผลลัพธ์ และผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์
4
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อพัฒนากลไกและแนวทางสนับสนุนการดำเนินงานระหว่าง สสจ./สคร./อปท. และหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง ในระดับส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชน 2 เพื่อพัฒนาระบบการสื่อสาร ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน บรรลุตามเป้าหมาย
5
เป็น “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยั่งยืน” ตามคุณลักษณะที่กำหนด
ผลลัพธ์ที่ต้องการ ร้อยละ 50 ของอำเภอ เป็น “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยั่งยืน” ตามคุณลักษณะที่กำหนด
6
นิยาม ; อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
1 อำเภอ หมายถึง กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มีการดำเนินงานตามคุณลักษณะที่กำหนดฯ ในแต่ละด้านในระดับอำเภอ 2 คุณลักษณะที่กำหนด หมายถึง อำเภอ ที่มีการควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เฉพาะปี 2554 ตามเกณฑ์แบบประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 3 อำเภอที่มีการดำเนินการป้องกันควบคุมโรค ได้คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ (ได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไปตามคุณลักษณะที่กำหนด)
7
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ข้อ คุณลักษณะ คะแนน 1 มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 10 2 มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี 20 3 มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4 มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 5 ผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นที่อย่างน้อย ประเด็นละ 1 เรื่อง
8
การรายงาน คณะกรรมการสุขภาพระดับอำเภอ หรือ สสอ.
ประเมินผลตามแบบประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวบแบบประเมิน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
9
จำนวนอำเภอทั้งหมดของจังหวัด
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนอำเภอทั้งหมดของจังหวัด การประมวลผลตัวชี้วัด สูตรคำนวณ จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด x 100
10
เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 40 45 50 55
60
11
Thank you for your attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.