ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKarnchana Praves ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
วันที่ 1 กันยายน 2553
2
เรากำลังจะต้องกลับไปดำเนินงานต่อ
ขอให้เขียนข้อข้องใจ กังวลใจ ไม่เข้าใจลงในกระดาษ
3
เรากำลังจะทำอะไรกันต่อ
เขียนรายงาน Self-assessment report ส่งขอรับรางวัล TQA นำเกณฑ์ไปพัฒนาตัวเอง X X √
4
ผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่อาสาสมัครเข้ามาช่วยในโครงการ
ความคาดหวังของสกอ. ผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่อาสาสมัครเข้ามาช่วยในโครงการ สถาบันนำเกณฑ์ไปใช้ประเมินตนเอง ระบุโอกาสพัฒนา กำหนดแผนในการพัฒนาตนเองให้ชัดเจน และดำเนินการตามแผนโดยมีตัววัดที่ชัดเจน (ระยะเวลา 18 เดือน) โดยมีทีมพี่เลี้ยงจากสกอ. ลงไปช่วย หลังระยะเวลา 18 เดือนแล้ว สถาบันสามารถใช้เกณฑ์ในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และสามารถเป็นพี่เลี้ยงให้คณะ/สถาบันอื่นๆ เพื่อขยายผล
5
หากท่านตกลงเข้าร่วมโครงการแล้ว ท่านจะต้องดำเนินการอย่างไร
กลับไป convince คนในหน่วยงาน (อธิการบดี คณบดี ที่มงาน) พัฒนา OP ให้ชัดเจน เป็นที่ยอมรับของทั้งองค์กร ดำเนินการประเมินตนเองร่วมกับพี่เลี้ยง เพื่อหา gap จัดลำดับความสำคัญของสิ่งที่จะต้องพัฒนาปรับปรุง วางแผนการพัฒนาพร้อมกำหนดตัวชี้วัด
6
Time frame
7
การจัดทำโครงร่างองค์กร
วัตถุประสงค์ เพื่อที่จะทำให้ทุกคนในองค์กรเข้าใจถึงทิศทางการดำเนินงานและปัจจัยแห่งความสำคัญในการดำเนินธุรกิจขององค์กร กระบวนการ ทบทวนข้อคำถามในเกณฑ์ในส่วนโครงร่างองค์กร จัดเตรียมเนื้อหาและรายละเอียดของโครงร่างองค์กรให้ครบถ้วนมากที่สุด สิ่งที่เราไม่สามารถตอบบางประเด็นได้ คือ gap ที่ควรดำเนินงานให้ชัดเจน แสดงรายละเอียดขั้นตอนที่ 4 7
8
การประเมินตนเอง วัตถุประสงค์ การประเมินตนเองโดยใช้เกณฑ์ กระบวนการ
วัตถุประสงค์ การประเมินตนเองโดยใช้เกณฑ์ กระบวนการ อ่านแนวทางในการตอบเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เก็บรวบรวมข้อมูลที่จะนำมาตอบในประเด็นสำคัญและเตรียมคำตอบเน้นการตอบแนวทาง การนำไปปฏิบัติ การทบทวน และความสอดคล้องกับทิศทางใหญ่ของอค์กร สิ่งที่เราไม่สามารถตอบอย่างเป็นระบบในบางประเด็นได้ คือ gap ที่ควรดำเนินงานให้ชัดเจน แสดงรายละเอียดขั้นตอนที่ 5 8
9
การจัดลำดับความสำคัญของการปรับปรุง
ปรับปรุงง่าย ผลกระทบน้อย ผลกระทบมาก ปรับปรุงยาก ง่าย ความยากง่ายของการปรับปรุง (Manageability) ยาก แสดงวิธีการในการจัดลำดับความสำคัญของโอกาสพัฒนา น้อย มาก ระดับผลกระทบ (Impact) 9
10
การจัดทำแผนปรับปรุง วัตถุประสงค์
เพื่อนำผลลัพธ์จากการประเมินองค์กรด้วยตนเองมาจัดทำเป็น Roadmap ในการปรับปรุงองค์กร กระบวนการ ผู้รับผิดชอบกระบวนการเป็นผู้ที่จัดทำแผนปรับปรุง ซึ่งจะให้ความสำคัญกับประเด็นทีถูกจัดลำดับความสำคัญในอันดับต้น ๆ แผนปรับปรุงควรกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในทุกขั้นตอน รวมทั้งมีการกำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จและเวลาแล้วเสร็จของแต่ละขั้นตอน แสดงรายละเอียดขั้นตอนที่ 9 10
11
การจัดทำแผนปรับปรุง กระบวนการ
ผู้นำระดับสูงต้องมีการสื่อสารแผนการปรับปรุงไปทั่วทั้งองค์กร ผู้รับผิดชอบกระบวนการจะทำหน้าที่ทบทวนแผนจากข้อมูลป้อนกลับ ดำเนินการปรับปรุงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ผู้ระดับสูงต้องเป็นผู้สื่อสารถึงความก้าวหน้าของแผนการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการเฉลิมฉลอง ยกย่องชมเชย เมื่อประสบผลสำเร็จตามแผน แสดงรายละเอียดขั้นตอนที่ 9 11
12
การประเมินและปรับปรุงกระบวนการ
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินและปรับปรุงกระบวนการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเองและกระบวนการปฏิบัติการ กระบวนการ ผู้นำระดับสูงจะได้รับข้อมูลจากผู้รับผิดชอบกระบวนการ สมาชิก และหัวหน้าทีมปรับปรุงถึงปัจจัยความสำเร็จและอุปสรรคจากการประเมินตนเอง จากนั้นต้องนำข้อมูลดังกล่าวมาเป็นข้อมูลสำหรับการปรับปรุงกระบวนการประเมินตนเองในรอบถัดไป กำหนดและวางแผนการประเมินในรอบถัดไป โดยที่ให้ประเมินในเชิงลึกมากขึ้น เช่น ในครั้งแรกประเมินเฉพาะส่วนโครงร่างองค์กร รอบนี้ก็ให้ประเมินจากเกณฑ์ในหัวข้ออื่น ๆ เป็นต้น โดยใช้แนวทางการให้คะแนนประกอบในการประเมิน แสดงรายละเอียดขั้นตอนที่ 10 12
13
จะมีทีมงานจากสกอ. เข้าไปติดตามประเมินกระบวนการทั้งหมด
14
รวบรวมคำถามจากกลุ่ม เขียนสิ่งที่เราตั้งใจหรือที่เราทำจริง
ถ้าเขียนไม่จริง ผู้อ่านจะรู้ได้อย่างไรว่าเราทำจริงหรือไม่ โครงการนี้ สกอ. จะส่งผู้ตรวจประเมินมาตรวจหรือไม่ จะมีคู่คือหรือแนวทางในการทำให้ดูหรือไม่ แผนพัฒนาจะต้องทำละเอียดแค่ไหน มีคนมาตรวจหรือไม่
15
คำถามสุดท้าย เอาแน่ไหม?
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.