ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ก๊าซธรรมชาติ 1 1
2
เอกสารอ้างอิง Peirce, W.S., Economics of the Energy Industries. บทที่ 10 Dahl, C. International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits. บทที่ 7 และ 10
3
เอกสารอ้างอิง เอกสารต่างๆ เกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติ ใน website ของ ปตท. (
4
ราคาน้ำมันแพง ทำให้หันมาใช้ NG มากขึ้น ในอัตราเพิ่มที่สูง
4 4
5
¾ ของปริมาณสำรองอยู่ในรัสเซียและตะวันออกกลาง
กว่าครึ่งอยู่ในรัสเซีย อิหร่าน และกาตาร์ รัสเซีย และสหรัฐฯ เป็นผู้ใช้ NG รายใหญ่ที่สุด 5 5
9
ลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญ:
NG สำคัญกับไทย พบมากในประเทศและนำมาใช้ทดแทนน้ำมันเกือบ 30 ปีแล้ว (ตั้งแต่ 2524) ลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญ: เป็นก๊าซ ทำให้เก็บสำรองและขนส่งได้ยาก ส่วนใหญ่ขนส่งทางท่อ (pipeline) (น้ำมันขนส่งได้ทั้งทางท่อ รถบรรทุก รถไฟ และเรือ) 9 9 9
10
ลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญ:
สร้างท่อใช้เงินลงทุนสูง และไปถึงเฉพาะจุด ระยะไกล (> 3000 กม.) มักจะขนส่งทางเรือตู้เย็น ในรูป liquefied natural gas (LNG) ลดปริมาตรลง เท่าโดยความเย็น อุณหภูมิ –164๐ C เป็นเชื้อเพลิงที่เผาไหม้หมดจด ค่อนข้างสะอาด 10 10 10
11
ลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญ:
หน่วยวัดปริมาตร ลูกบาศก์ฟุต (cubic feet cf.) หรือ ลูกบาศก์เมตร (cubic meters cm.) หน่วยความร้อนเป็น BTU (British Thermal Unit) 1 cf. = 1,000 BTU 1,000 cf. = 1 ล้าน BTU (MMBTU) หน่วยมาตรฐานในการกำหนดราคา 11 11 11
12
ส่วนประกอบของ NG: ก๊าซมีเธน (methane หรือ C1 คือ C1H4) เป็นองค์ประกอบใหญ่สุด (>70%) ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า โรงงาน และรถยนต์ (CNG หรือ NGV) 12 12 12
13
ส่วนประกอบของ NG: ก๊าซอีเธน (ethane หรือ C2 คือ C2H6) ใช้เป็นวัตถุดิบ (feedstock) ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี (เช่น เม็ดพลาสติก) 13 13 13
14
ส่วนประกอบของ NG: ก๊าซโพรเพน (propane หรือ C3 คือ C3H8)
และก๊าซบิวเทน (butane หรือ C4 คือ C4H10) C3 ใช้เป็นวัตถุดิบ (feedstock) ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี C3 + C4 ผสมกันเป็นของเหลวอัดใส่ถัง เป็นก๊าซหุงต้ม (liquefied petroleum gas หรือ LPG) ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อหุงต้ม ในโรงงาน และในยานยนต์ 14 14 14
15
ส่วนประกอบของ NG: C5 ขึ้นไป คือ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (natural gasoline) ใช้กลั่นเป็นผลิตภัณฑ์น้ำมัน CO2 ใช้ทำน้ำแข็งแห้ง Condensate น้ำมันดิบชนิดหนึ่งซึ่งพบร่วมกับ NG และแยกได้ที่แท่นผลิต 15 15 15
16
ก๊าซธรรมชาติในไทย: ผลจากการเร่งสำรวจหลังวิกฤติน้ำมันครั้งแรก พบมากในอ่าวไทย เริ่มผลิตได้ในปี 2524 ขนส่งทางท่อซึ่งวางจากแท่นผลิตในทะเลมาขึ้นบกที่ระยอง และต่อไปยังโรงไฟฟ้าต่างๆ ไปสุดที่สระบุรี 16 16 16
17
ก๊าซธรรมชาติในไทย: ส่วนใหญ่ (C1 ) ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ในโรงงาน และ CNG ในรถยนต์ C3 + C4 ผสมกันเป็นก๊าซหุงต้ม (LPG) ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อหุงต้ม ในโรงงาน และในยานยนต์ (มากขึ้นมากในช่วง ปี เมื่อน้ำมันแพง) 17 17 17
18
ก๊าซธรรมชาติในไทย: ส่วนอื่นๆ ใช้เป็นวัตถุดิบ (feedstock) ในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี และใช้กลั่นเป็นผลิตภัณฑ์น้ำมัน การผลิตเพิ่มทุกปี แต่ไม่พอใช้ จึงต้องนำเข้าจากพม่าตั้งแต่ปี 2543 โดยขนส่งทางท่อผ่านกาญจนบุรี ในปัจจุบันก๊าซพม่าเป็น 30% ของการใช้ทั้งหมด 18 18 18
19
ก๊าซธรรมชาติในไทย: ในปี 2550 การผลิตเริ่มในพื้นที่ร่วมพัฒนา ไทย-มาเลเซีย (Joint Development Area หรือ JDA) ต้นปี 2550 ไทยมีปริมาณสำรองของ NG อยู่ 14.8 ล้านล้าน ลบ. ฟุต เหลือให้ใช้ได้อีก 18 ปี หากรวมกับของประเทศเพื่อนบ้าน คาดว่าจะใช้ไปได้อีกประมาณ 30 ปี 19 19 19
20
ก๊าซธรรมชาติในไทย: ปตท. เตรียมนำเข้า LNG จากตะวันออกกลาง เริ่มในปี 2554 20 20 20
21
ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย:
ส่วนใหญ่ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า เพื่อทดแทน น้ำมันเตา ข้อดี: มีมากในประเทศ ต้นทุนต่ำ และสะอาด 21 21 21
22
ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย:
ข้อเสีย: การผลิตไฟฟ้าต้องพึ่งพา NG สูงมากถึง 70% กระจุกตัวและเสี่ยงเกินไป ต้องนำเข้าเพิ่มขึ้นในที่สุด และราคาจะแพงตามน้ำมันในอนาคต 22 22 22
23
Production (Import / Export) and Consumption of Primary Commercial Energy in Thailand Unit : KBD (COE)
24
Power Generation by Type of Fuel (PDP 99-02) Unit : GWh
25
ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย:
ถ้าไม่ใช้ NG เพิ่มขึ้น แล้วจะใช้เชื้อเพลิงอะไรผลิตไฟฟ้าในอนาคต? ตามแผน PDP 2007 (Power Development Plan 2007) จะใช้ถ่านหินนำเข้าและนิวเคลียร์ 25 25 25
26
ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย:
ถ่านหิน: ราคาถูก แต่สกปรก นิวเคลียร์: ไม่มีก๊าซเรือนกระจก แต่มีกัมมันตภาพรังสี ที่ “อันตราย” ถ้าไม่ใช้ถ่านหินนำเข้าและนิวเคลียร์ จะต้องพึ่งพา NG สูงมากถึงกว่า 80% 26 26 26
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.