ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ
เสริมสุข กับ PEPSICO
3
ความเป็นมา วางตลาดในเมืองไทยปี 2496 Franchise ชื่อ บริษัท เสริมสุข
วางตลาดในเมืองไทยปี 2496 Franchise ชื่อ บริษัท เสริมสุข ผู้ร่วมทุนสำคัญ ยม ตัณฑเศรษฐี ทรง บูลสุข
4
ลำดับเหตุการณ์ การลงนามในสัญญาปี 2541 บริษัทเสริมสุข ได้ตกลงซื้อหัวน้ำเชื้อ กับ Pepsi Co., Inc. ก.พ. 2553 มีมติเห็นควรให้ทบทวนข้อเท็จจริง หรือปัจจัยการกำหนดราคาหรือเงื่อนไขของสัญญา เม.ย Pepsi Co ส่ง บริษัท สตราทีจิค “ตัวแทน” ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของเสริมสุข เพื่อให้ถือหุ้นกิจการ 51% แต่จำนวนหุ้นที่นำมาเสนอขาย < ที่ทำคำเสนอซื้อ Pepsi Co จึงได้ยกเลิกการเสนอซื้อ
5
ลำดับเหตุการณ์ 4 ต.ค. 2553 เสริมสุขเจรจาแก้ไขสัญญา เพื่อให้ได้ราคาและเงื่อนไขที่ดีขึ้น และจัดทำแผนธุรกิจในอนาคต (Future Business Plan) 28 ต.ค บริษัท เอสเอส เนชั่นแนล โลจิสติกส์ จำกัด ทำคำ เสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของเสริมสุข เพื่อให้ได้ถือหุ้นของเสริมสุข ในสัดส่วนอันมีนัยสำคัญ (> 25%) กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหม่ มิใช่กลุ่มเดียวกับเปปซีในครั้งก่อน 3 พ.ย. 2553 บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า(ไทย) เทรดดิ้ง จำกัด ได้ยื่นต่อศาลแพ่ง ขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนมติที่ประชุม ครั้ง 1/2553
6
ลำดับเหตุการณ์ 13 มกราคม 2554 บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้งจำกัด ได้ยื่นต่อศาลแพ่งขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนมติที่ประชุมฯ ครั้ง 2/2553 แต่เสริมสุขได้ยื่นคำคัดค้านต่อศาล 31 มี.ค เสริมสุข ประชุมพิเศษ ครั้งที่ 5/2554 โดยมีวาระสำคัญ “การบอกเลิกสัญญาระหว่างกับเป๊ปซี่” 29 เมษายน 2554 เสริมสุข จัดประชุมสามัญฯ ครั้งที่ 1/2554 บรรลุ วัตถุประสงค์ 2 ข้อ การยกเลิกสัญญากับเปปซีโดยแก้ไขเพิ่มเติมแผนธุรกิจในอนาคต (Future Business Plan) เปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ 4 คน
7
โครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในปัจจุบัน
บริษัท เอสเอส เนชั่นแนล โลจิสติกส์ จำกัด 32.62% กลุ่มเป๊ปซี = บริษัท เป๊ปซี่-โคลา (ไทย) เทรดดิ้ง จำกัดและ SEVEN-UPNEDERLAND, B.V % แล้ว
8
วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหว่างองค์กรที่เป็นคู่ค้า ความขัดแย้งภายในองค์กร ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ ความขัดแย้งด้านข้อมูล การสื่อสารบกพร่อง ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ ความขัดแย้งด้านค่านิยม ความแตกต่างของบุคคล เป็นความขัดแย้งด้านโครงสร้าง แย่งชิงอำนาจ
9
สาเหตุที่มาของความขัดแย้ง
1. ความผันผวนทางเศรษฐกิจ เป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งซึ่งมาจากผลประโยชน์ไม่ลงตัว ต่างฝ่ายต่างต้องการผลประโยชน์ที่สูงกว่า 2. การบริหารงานภายใต้บริษัทซึ่งมีบุคคลหลายฝ่าย ค่านิยมต่าง หลากหลายความคิด นำมาซึ่งความขัดแย้งภายในองค์กร 3. การสื่อสารบกพร่อง การประเมินข้อมูลที่ไม่ตรงกัน การเจรจาตกลงทางการค้าจึงไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ที่ต้องการ 4. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ แบ่งแยกกัน เกิดความขัดแย้งกันเองทำให้ความสัมพันธ์เป็นไปในทางลบ 5. แต่ละฝ่ายต่างต้องการถือหุ้นสูงสุด เพื่อเป็นอำนาจต่อรอง
10
ผลกระทบของความขัดแย้ง
ผลกระทบในทางลบ 1. เกิดความแตกแยกเป็นหลายฝ่าย และขัดแย้งกัน 2. เป็นอุปสรรคในการบริหารงานและการประสานงาน 3. เกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีในสายตาคนภายนอก 4. เปิดโอกาสให้คู่แข่งใช้เป็นข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน ผลกระทบในทางบวก 1. ความคิดเห็นต่าง อาจนำมาซึ่งสิ่งที่ดีกว่าเดิม
11
แนวทางการจัดการความขัดแย้ง
1. ผู้บริหารต้องสื่อสารกันอย่างจริงใจตรงไปตรงมา 2. การเจรจาจัดทำข้อตกลงใหม่ที่เป็นธรรม 3. การเจรจาต้องมีคนกลางเพื่อปรับทัศนคติ- ปรับความสัมพันธ์ที่ดี 4. มุมมองที่แตกต่างกัน ต้องสื่อสารอย่างชัดเจน 5. ยึดหลักบรรษัทภิบาลในการดำเนินธุรกิจ 6. มุ่งเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.