ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPuran Supachai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประชุมชี้แจง รายละเอียดตัวชี้วัดตามกรอบ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ โดยผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกล ของกระทรวงมหาดไทย วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม 2556
2
กำหนดการ 09.00 – น. 09.30 – น. ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2556 โดย ผอ. กองติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ ชี้แจงคำถามเกี่ยวกับตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
3
แนวทางการดำเนินงาน การติดตาม และการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2556
สำนักงาน ก.พ.ร. ชี้แจง รายละเอียดตัวชี้วัดตามกรอบ การประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ สิ้นสุดวันรับคำขอเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัด น้ำหนัก และเกณฑ์การให้ คะแนนของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด รอบแรก 1 เม.ย. 56 กลุ่มจังหวัดและจังหวัด - รายงานการประเมินผลตนเอง รอบ 6 เดือน ผ่านระบบรายงานผลการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR) ของสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเดือน เม.ย. 56 จังหวัดลงนาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ วิเคราะห์ผลและ ตรวจสอบผลการประเมิน ให้สมบูรณ์ครบถ้วน สรุปผลการประเมิน นำเสนอ อ.ก.พ.ร.ฯ/ก.พ.ร. นำผลการประเมินไปเชื่อมโยง กับสิ่งจูงใจ สำนักงาน ก.พ.ร. ส่งผลการตรวจสอบ รายละเอียดตัวชี้วัด ให้กลุ่มจังหวัดและจังหวัด - รายงานการประเมินผลตนเอง รอบ 9 เดือน ผ่านระบบรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR) ของ สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเดือน ก.ค. 56 สำนักงานสถิติแห่งชาติสำรวจ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ มิ.ย. – ส.ค. 56 สิ้นสุดวันรับคำขอเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัด น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด รอบสุดท้าย 31 ต.ค. 56 สำนักงาน ก.พ.ร. รับข้อมูล ผลการปฏิบัติงานจาก หน่วยงานกลางที่เป็น เจ้าภาพตัวชี้วัด สำนักงาน ก.พ.ร. ติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการของจังหวัด ม.ค. – ก.พ. 57 แจ้งผลการประเมิน ให้จังหวัดทราบ วิเคราะห์ผล/ นำเสนอ อ.ก.พ.ร.ฯ กลุ่มจังหวัด และจังหวัดจัดส่ง รายละเอียดตัวชี้วัดให้สํานักงาน ก.พ.ร. เพื่อประกอบการประเมินผล ภายในเดือน มี.ค ก.พ. 56 กลุ่มจังหวัดและจังหวัด - ส่งรายงานการประเมินผลตนเอง รอบ 12 เดือน ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. - รายงานการประเมินผลตนเอง รอบ 12 เดือน ผ่านระบบรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR) ของสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเดือน ต.ค. 56 สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอ คณะรัฐมนตรี เพื่อรับทราบ
4
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกตามโครงการรับจำนำข้าวเปลือก ประเด็นคำถาม ขอปรับสูตรการคำนวณผลการดำเนินงาน โดยขอยกเว้นไม่นำผลผลิตข้าวเพื่อการบริโภค และการปลูกไว้เพื่อทำพันธุ์ข้าว มาเป็นฐานในการคำนวณ ขอปรับนิยามของคำว่า “ข้าวเปลือก” ซึ่งขอเสนอให้การประเมินผล ครอบคลุมการวัดปริมาณข้าวเปลือกเจ้าเท่านั้น ไม่รวมถึงข้าวเปลือกเหนียว
5
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกตามโครงการรับจำนำข้าวเปลือก สูตรการคำนวณ ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกฯ ปริมาณการรับจำนำข้าวเปลือกฯ ของจังหวัด ประมาณการปริมาณผลผลิตข้าวเปลือกฯ ของจังหวัด X 100 = แหล่งข้อมูลประกอบการประเมินผล ปริมาณการรับจำนำข้าวเปลือกฯ ของจังหวัด ใช้ข้อมูลจาก กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ประมาณการปริมาณผลผลิตข้าวเปลือกฯ ใช้ข้อมูลจาก สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
6
เป้าหมาย ปริมาณการรับจำนำ
ประเด็นคำถาม - คำตอบ การกำหนดเกณฑ์การประเมินผล ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกตามโครงการรับจำนำข้าวเปลือก ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2555 ปี 2556 ปริมาณผลผลิต ปริมาณการ รับจำนำ (ประมาณการ) เป้าหมาย ปริมาณการรับจำนำ ภาพรวมทั้งประเทศ 39,185,665 21,757,778 37,453,995 22,000,000 ค่าคะแนน 3 คือ ผลการดำเนินการปีที่ผ่านมา ปริมาณการรับจำนำ ปี ,757,778 ปริมาณผลผลิตที่ทำได้ในปี ,185,665 ค่าคะแนน 5 คือ เป้าหมายตามมติ ครม เป้าหมายปริมาณการรับจำนำ ปี ,000,000 ประมาณการปริมผลผลิต ปี ,453,995 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 52.30 53.91 55.52 57.13 58.74 โดยมีค่า Interval คือ +/ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 52 54 56 58 60 กำหนดค่า Interval คือ +/- 2
7
ปริมาณผลผลิตข้าวทั้งหมด ใน ปี 2555 จำนวน 39,185,665 ตัน
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกตามโครงการรับจำนำข้าวเปลือก คำตอบ สูตรการคำนวณผลการดำเนินงานและเกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนดนั้น พิจารณาจากร้อยละ ความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกฯ ในภาพรวมของประเทศในปีที่ผ่านมา (กำหนด ไว้ที่ระดับคะแนน 3) ซึ่งตัวเลขดังกล่าวได้แสดงถึงปริมาณการผลิตเพื่อการจำนำที่ได้หัก ผลผลิตข้าวเพื่อการบริโภคและ/หรือการปลูกไว้เพื่อทำพันธุ์ข้าว และปริมาณข้าวที่ไม่ได้ นำเข้าสู่กระบวนการจำนำแล้ว และนำเป้าหมายในการรับจำนำข้าวฯ ตามมติคณะรัฐมนตรี มากำหนดไว้ที่ระดับคะแนน 5 ปริมาณผลผลิตข้าวทั้งหมด ใน ปี 2555 จำนวน 39,185,665 ตัน (21,757,778 ตัน) (21,757,778 ตัน)
8
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกตามโครงการรับจำนำข้าวเปลือก สูตรการคำนวณ ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกฯ ปริมาณการรับจำนำข้าวเปลือกฯ ของจังหวัด ประมาณการปริมาณผลผลิตข้าวเปลือกฯ ของจังหวัด X 100 = แหล่งข้อมูลประกอบการประเมินผล ปริมาณการรับจำนำข้าวเปลือกฯ ของจังหวัด ใช้ข้อมูลจาก กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ประมาณการปริมาณผลผลิตข้าวเปลือกฯ ใช้ข้อมูลจาก สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
9
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของผลการรับจำนำข้าวเปลือกตามโครงการรับจำนำข้าวเปลือก ประเด็นคำถาม ขอปรับนิยามของคำว่า “ข้าวเปลือก” ซึ่งขอเสนอให้การประเมินผล ครอบคลุมการวัดปริมาณข้าวเปลือกเจ้าเท่านั้น ไม่รวมถึงข้าวเปลือกเหนียว คำตอบ ขอข้อมูล ปริมาณการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้า และ ปริมาณการรับจำนำ ข้าวเปลือกเหนียว ที่มีที่มาของแหล่งข้อมูลที่ตรวจสอบได้ เพื่อประกอบการ พิจารณา ปริมาณการรับจำนำ ข้าวเปลือกเจ้าของจังหวัด ประมาณการปริมาณผลผลิต ข้าวเปลือกเจ้าของจังหวัด X 100 ? ปริมาณการรับจำนำ ข้าวเปลือกเหนียวของจังหวัด ประมาณการปริมาณผลผลิต ข้าวเปลือกเหนียวของจังหวัด X 100 ?
10
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรสำคัญของกลุ่มจังหวัด ประเด็นคำถาม เนื่องจากข้าวนาปี จะมีผลผลิตคาบเกี่ยวกับปี 2557 คือ จะออกผลผลิตในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือน ธันวาคม 2556 ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวติดค่า NA อยู่ การประเมินผลสามารถรอข้อมูลข้าวนาปี ที่จะออกผลผลิตในเดือนธันวาคม 2556 ได้หรือไม่ คำตอบ สามารถรอข้อมูลข้าวนาปี ที่จะออกผลผลิตในเดือนธันวาคม 2556 ได้
11
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัดที่ : ระดับความสำเร็จของการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นคำถาม การคำนวนปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นต่อวันของ อปท. เป้าหมาย ที่กรมควบคุม มลพิษกำหนด อาจไม่เหมาะสมกับบางพื้นที่ เนื่องจากลักษณะชุมชนของแต่ละ เทศบาลมีความแตกต่างกัน กรณีที่จังหวัดมีตัวเลขปริมาณขยะมูลฝอยโดยการชั่ง น้ำหนักในพื้นที่นั้น ๆ อยู่แล้ว จังหวัดสามารถเลือกข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้หรือไม่? คำตอบ จังหวัดสามารถเสนอเรื่องไปยังกรมควบคุมมลพิษซึ่งเป็นเจ้าภาพได้โดยตรง
12
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัดที่ : ระดับความสำเร็จของการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นคำถาม การพิจารณาให้คะแนนตัวชี้วัดที่กำหนด คือร้อยละปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถนำไป กำจัดได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ หรือ ร้อยละปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถนำ กลับมาใช้ประโยชน์ได้ จังหวัดสามารถเลือกใช้เกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งในแต่ละ อปท. เป้าหมายใช่หรือไม่? คำตอบ จังหว้ดสามารถเลือกใช้เกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งสำหรับแต่ละ อปท. แล้วนำมาคำนวณเป็นผลรวมของจังหวัดได้
13
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาเคาน์เตอร์บริการประชาชน ประเด็นคำถาม เกณฑ์มาตรฐาน ที่ 9 จำนวนผู้ใช้บริการรายไตรมาสเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ใช้จำนวนผู้ใช้บริการไตรมาสแรกเป็นเกณฑ์การคิดร้อยละใช่หรือไม่ คำตอบ ใช่ ตัวอย่าง ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 100 105
14
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย ประเด็นคำถาม กรณีที่จังหวัดได้ยกเลิกโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ บางโครงการ จังหวัดไม่ต้องนำโครงการนั้น ๆ มาคำนวณถูกต้องหรือไม่? กรณีในระหว่างปีงบประมาณ จังหวัดมีโครงการตามแผนปฏิบัติราชการฯ (โครงการใหม่ มีผลกระทบต่อแผน) ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก อ.ก.น.จ. และสำนักงบประมาณแล้ว ต้องนำมาคำนวณประเมินผลด้วยหรือไม่? คำตอบ ใช่ โดยจังหวัดต้องรายงานหลักฐานการพิจารณาเห็นชอบให้ยกเลิกโครงการฯ /เพิ่มเติมโครงการตามแผนฯ ไว้ในรายงานการประเมินผลตนเองรอบ 12 เดือน และใน e-SAR ด้วย
15
ประเด็นคำถาม - คำตอบ เงื่อนไข
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย เงื่อนไข จังหวัดจะต้องจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ตามแบบรายงาน ดังต่อไปนี้ ผลผลิต/ตัวชี้วัด (i) น้ำหนัก (Wi) เป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ร้อยละของเป้าหมายที่กำหนด ผลการ ดำเนินงาน ร้อยละ ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมาย คะแนน ที่ได้ (Ci) คะแนน ถ่วงน้ำหนัก (Wi x Ci) 1 2 3 4 5 ผลผลิต : การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ กิจกรรม : โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อชุมชนหรือชนบท ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนน้ำต้นทุนเพิ่มขึ้น 0.2 60,000 ลบ.ม. 80 85 90 95 100 5.0000 1.0000 กิจกรรม : โครงการพัฒนาผู้ประกอบการและเทคโนโลยีการผลิตโรงสีข้าว ตัวชี้วัดที่ 2 : ประสิทธิภาพการสีข้าวเพิ่มขึ้น ร้อยละ10 ร้อยละ 10 กิจกรรม : โครงการพัฒนาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ได้รับการปรับปรุงคุณภาพต่อปี 750 ตัน 750 ต้น ผลผลิต : การบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของเป้าหมายกลุ่มโครงการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิจกรรม : โครงการศึกษาและจัดทำแผนแม่บทการแก้ไขปัญหาน้ำ ตัวชี้วัดที่ 4 : จำนวนแผนแม่บทในการแก้ไขปัญหาน้ำ 1 แผน ผลผลิต : การรักษาความมั่นคงและความสงบ ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของเป้าหมายกลุ่มโครงการรักษาความมั่นคงและความสงบ กิจกรรม : โครงการส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของจำนวนคดีที่เกิดขึ้นลดลง ร้อยละ 8 0.2000 น้ำหนักรวม ค่าคะแนนของตัวชี้วัดนี้เท่ากับ 4.2000
16
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นคำถาม กรณีที่ GAP ห่าง แต่ได้ทำแผนพัฒนาปรับปรุงในข้อที่ GAP ห่างมากที่สุด แล้วในข้ออื่นๆที่ไม่ได้นำมารวมไว้ในแผนฯ จะต้องดำเนินการอย่างไร คำตอบ ทุกข้อคำถามมีความสำคัญต่อการปรับปรุงองค์กร แต่การดำเนินการพร้อมกันทุกข้อคำถามเป็นไปได้ยาก เนื่องจากจังหวัดอาจมีทรัพยากรไม่เพียงพอหรือขาดความพร้อมบางเรื่อง ดังนั้น ในเบื้องต้นเพื่อให้เห็นผลในทางปฏิบัติ สำนักงาน ก.พ.ร. จึงประสงค์ให้จังหวัดเลือกปรับปรุงข้อคำถามที่มี GAP สูงก่อน ส่วนข้อคำถามอื่น จังหวัดต้องดำเนินการปรับปรุงด้วยเช่นกัน เพื่อให้ผลการพัฒนาองค์กรโดยรวมของจังหวัดดีขึ้น
17
“GAP” ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ตัวอย่าง Renewal HRM นโยบายและเป้าหมาย HRM ชัดเจน งานท้าทาย ได้เรียนรู้/ประสบการณ์ นำการเรียนรู้จากบุคลากร ผู้เกี่ยวข้อง มาปรับปรุงกระบวนการ ระบบงาน ขั้นตอนทำงาน การมอบหมายงานชัดเจน เหมาะสม การเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากร ส่วนราชการปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคล ถูกต้อง ทันสมัย นำมาใช้ประกอบการตัดสินใจ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม Execution กิจกรรมการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์ แผน HRD สอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร์จังหวัด ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ติดตามความคืบหน้า บุคลากรในจังหวัดมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ช่วยส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติงาน การให้รางวัล ยกย่องชมเชยบุคลากร HRD มุ่งมั่นตั้งใจ ยินดีที่จะปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ ได้รับการพัฒนาความรู้ฯ จากความต้องการ และผลการประเมิน มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ การพัฒนาความรู้ฯ ที่ได้รับช่วยให้ชำนาญ และปฏิบัติงานดีขึ้น ปริมาณงานสมดุลกับเวลาปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศช่วยให้ปฏิบัติงานต่อเนื่อง System สภาพแวดล้อมทำให้ทำงานอย่างมีความสุข การจัดการแก้ไขปัญหา ระบบ IT เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อมูลและสารสนเทศของจังหวัดถูกใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน ผู้บริหารสามารถบริหารฯ องค์การให้บรรลุเป้าหมาย ฐานข้อมูลใช้งานสะดวก เข้าถึงง่าย ค้นหาข้อมูลรวดเร็ว เข้าใจทิศทาง/กลยุทธ์ ฐานข้อมูลสนับสนุน Good/best Practices Alignment ระบบ IT เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน Database Network
18
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นคำถาม การสำรวจหลังจากดำเนินการตามแผนฯ แล้ว ยังใช้คำถามเดิมใช่หรือไม่ คำตอบ ใช่
19
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นคำถาม ในแต่ละข้อคำถามนั้น จะต้องดำเนินการอย่างไร ต้องมีหลักฐานอะไรหรือไม่ คำตอบ หลักฐานในการ Site Visit รอบ 12 เดือน ข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของสารสนเทศ แผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ซึ่งจังหวัดได้จัดส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. แล้ว เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2556
20
ความสำเร็จเมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ ประเด็นคำถาม กรณีที่จังหวัดตั้งค่าเป้าหมายไว้ที่ค่าสูงสุด (Maximum) และการดำเนินงานจริงไม่สามารถดำเนินการได้สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด จังหวัดควรทำเช่นไร เนื่องจากสำนักงาน ก.พ.ร. ได้กำหนดเกณฑ์ที่จะได้ค่าคะแนนเพิ่มขึ้นหากจังหวัดสามารถดำเนินการได้สูงกว่าเป้าหมาย ดังนี้ KPI (n) ความสำเร็จเมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย ค่าคะแนน (Xi) n1 ต่ำกว่า n2 เท่ากับ 1 n3 สูงกว่า 2
21
ประเด็นคำถาม - คำตอบ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ คำตอบ สำนักงาน ก.พ.ร. จะพิจารณาข้อยกเว้นให้สำหรับตัวชี้วัดที่ไม่สามารถดำเนินการ ได้มากกว่าค่าเป้าหมาย โดยจะปรับค่าคะแนนเฉลี่ย ให้เท่ากับ 2 ทั้งนี้ ในการรายงานผลการประเมินตนเอง ให้จังหวัดรายงานตามเกณฑ์ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. จะปรับคะแนนให้เมื่อตรวจประเมิน
22
ประเด็นข้อสังเกต การรายงานข้อมูลในระบบ e-SAR
การกรอกข้อมูลในระบบในรอบ 9 เดือน 12 เดือน เนื่องจากเป็นระบบใหม่ หาก จังหวัดไม่สามารถดำเนินการได้ทัน ไม่ควรตัดคะแนนจังหวัด หรือหากตัดจริงควรมี มาตรการผ่อนผันให้บ้าง การนำเข้าข้อมูลตัวชี้วัด ปี 56 ผู้ดูแลระบบควรนำเข้าข้อมูลที่มีอยู่แล้วให้กับจังหวัด เช่น ชื่อตัววัด คำอธิบาย เกณฑ์การให้คะแนน ฯลฯ เพื่อความง่ายในการปรับปรุง หรือแก้ไขในส่วนการดำเนินงานของจังหวัด
23
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
สุนทรี สุภาสงวน ผอ.กองติดตามและประเมินผลการพัฒนาะบบราชการ สำนักงาน ก.พ.ร. หมายเลขโทรศัพท์ กลุ่มมาตรฐานการติดตามและประเมินผลกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ผัสสพร นภาวรรณ ต่อ 8899 สาวิตรี เพ็งผาสุข ต่อ 8867 คุณธรรม วัฒนา ต่อ 9968 หมายเลขโทรสาร address :
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.