ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
2
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาผู้เรียน
การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ผู้เรียน การสร้างเครื่องมือวิจัย การทดสอบเครื่องมือวิจัย การวิเคราะห์ข้อสอบ การเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย การหาประสิทธิภาพ การหาประสิทธิผล
3
เครื่องมือในการวิจัยและพัฒนาผู้เรียน
แบบประเมินสื่ออีเลินนิ่ง แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน แบบทดสอบท้ายบทเรียน แบบประเมินความพึงพอใจ
4
การสร้างเครื่องมือวิจัย
การสร้างสื่ออีเลินนิ่ง (Moodle) การสร้างแบบประเมินสื่ออีเลินนิ่ง - แบบประเมินสื่ออีเลินนิ่ง (กรมวิชาการ) การสร้างแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ - แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน
5
ขั้นตอนการพัฒนา E-Learning
Instructional Design (ID) ADDIE การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนำไปใช้ (Implement) การประเมินผล (Evaluation)
6
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ การกำหนดจำนวนข้อสอบตามวัตถุประสงค์ การสร้างข้อสอบแบบปรนัย การสร้างข้อสอบแบบอัตนัย
7
การ try out ข้อสอบ การนำเอาข้อสอบที่สร้างขึ้นทดลองใช้ (Try out)
กลุ่มที่ทดสอบข้อสอบ - เป็นผู้เรียนที่เคยเรียนวิชานี้มาแล้ว - เป็นผู้เรียนที่กำลังเรียนวิชานี้ แต่คนละกลุ่มกับกลุ่มตัวอย่าง - จำนวนผู้ทดสอบข้อสอบ ควรมากกว่ากลุ่มตัวอย่าง
8
การวิเคราะห์ข้อสอบ ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8
เทคนิค 25 % กลุ่มคะแนนสูง 25 % กลุ่มคะแนนต่ำ 25 % คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึ้นไป ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป
9
การทดสอบเครื่องมือการวิจัย
Tryout แบบทดสอบ One to One Small Group Large Group / Filed Study การหาประสิทธิภาพ 80/80
10
การทดสอบสื่ออีเลินนิ่ง
One to One Small Group Large Group / Filed Study การหาประสิทธิภาพ 80/80
11
One to One การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ทดลองให้นักเรียนหนึ่งคนเข้าเรียนรายวิชาใน e-Learning สังเกตปัญหาในการเรียน สัมภาษณ์การเข้าใช้ระบบ e-Learning หาข้อขัดข้องทำการแก้ไข
12
Small Group การทดลองกลุ่มเล็ก 3-5 คน
ทดลองให้นักเรียนสามคนแบ่งเป็นเด็กเก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อน เข้าเรียนในรายวิชา e-Learning สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งสามคน นำมาวิเคราะห์ปัญหาปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น
13
Large Group การทดลองกลุ่มใหญ่ 9-15 คน
ทดลองให้นักเรียนเก้าคนเข้าเรียนในรายวิชา e-Learning สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งสามคน นำมาวิเคราะห์ปัญหา ปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น
14
Filed Study การทดลองจริงหรือการทดลองภาคสนาม กลุ่มทดลองเรียน E-Learning
จำนวน 30 คน แบบวัดผล 3 ช่วงคือ - แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน
15
การหาประสิทธิภาพสื่อ
สูตรการหาประสิทธิภาพสื่ออีเลินนิ่ง E1/E2 = 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทุกคนได้จากแบบทดสอบระหว่างเรียน 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทุกคนได้จากแบบทดสอบหลังเรียน
16
การหาค่า E1
17
การหาค่า E2
18
การหาประสิทธิผลสื่ออีเลินนิ่ง
การนำคะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ลบด้วย คะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียน จะได้เป็นอัตราความก้าวหน้าของผู้เรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน Epost – Epre > 60
19
การหาความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ดีมาก 5 ดี
ระดับความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ดีมาก 5 ดี 4 ปานกลาง 3 พอใช้ 2 ควร ปรับปรุง 1 ด้านการประเมิน 1. ด้านตัวอักษร (Text) 2. ด้านภาพนิ่ง (Image) 3. ด้านภาพเคลื่อนไหว (Animation) 4. ด้านเสียง (Audio)
20
ขั้นตอนการดำเนินการในการอบรม
สร้างข้อสอบให้เสร็จก่อนกลับไปเก็บข้อมูล สร้างแบบทดสอบใน E-Learning ให้เสร็จเพื่อนำไปทดสอบใช้งานจริง เขียนเค้าโครงการวิจัย 3 บท เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดขั้นตอนการวิจัย ปรับปรุง E-Learning ให้พร้อมที่ผู้เรียนจะใช้เรียนจริง
21
ขั้นตอนการเก็บข้อมูลตามสภาพจริง
ทดสอบใช้งาน E-Learning ทดสอบข้อสอบกับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทดสอบระหว่างเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทดสอบความพึงพอใจของนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลการใช้งานกิจกรรมใน E-Learning
22
คำถาม ???
23
วิทยากร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.