งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
สุณีย์ ฟังสูงเนิน นักโภชนาการระดับชำนาญการ ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

2 จุดมุ่งหมาย เพื่อให้สามารถคำนวณหาปริมาณสารอาหารและพลังงานได้ตามที่กำหนด สามารถคำนวณเพื่อกำหนดส่วนอาหารได้อย่างเหมาะสมตามพลังงานและสารอาหารที่กำหนด

3 จุดมุ่งหมาย 3. ทราบปริมาณสารอาหารและพลังงานที่ควรได้รับแต่ละมื้อ / แต่ละวัน จัดแผนอาหารได้ จัดรายการอาหารตามแผนอาหารที่กำหนด และน่ารับประทาน

4 การประเมินภาวะโภชนาการ
การคำนวณค่าดัชนีมวลกาย เป็นวิธีการคำนวณหาขนาดมวลกายต่อพื้นที่ร่างกาย 1 ตารางเมตร จากสูตร ดัชนีมวลกาย = น้ำหนัก ( ก.ก ) ส่วนสูงxส่วนสูง (เมตร)

5 ตัวอย่าง คุณสุดสวย น้ำหนัก 77 กก. สูง 160 ซม. BMI = ____77___ = 77 1
ตัวอย่าง คุณสุดสวย น้ำหนัก 77 กก. สูง 160 ซม. BMI = ____77___ = X BMI =

6 ค่าดัชนีมวลกายประเมินภาวะโภชนาการได้ดังนี้
ค่าดัชนีมวลกาย ภาวะโภชนาการ > โรคอ้วนระดับที่ 2 25.0 – โรคอ้วนระดับที่ 1 23.0 – น้ำหนักเกิน 18.5 – ปกติ < น้ำหนักน้อย

7 การคำนวณพลังงานจากน้ำหนักตัวและระดับกิจกรรม
กิจกรรมเบา กิจกรรมปานกลาง กิจกรรมหนัก น้ำหนักเกิน – น้ำหนักปกติ น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

8 พลังงานที่ต้องการ ใน 1 วัน น้ำหนักตัว X ระดับกิจกรรม 77 x 30 = 2,310 k
พลังงานที่ต้องการ ใน 1 วัน น้ำหนักตัว X ระดับกิจกรรม 77 x 30 = 2,310 k.cal

9 การลดน้ำหนักให้ได้ผลดี และสามารถทำได้ อย่างต่อเนื่อง ให้ลดพลังงานลง วันละ กิโลแคลอรี่ จะสามารถลดได้สัปดาห์ละ ½ กก.

10 ตัวอย่างการลดน้ำหนัก
อาหารพลังงาน 2,310 กิโลแคลอรี่ ต้องลดพลังงานลง กิโลแคลอรี่ พลังงานที่ควรได้รับ/วัน 1,810 กิโลแคลอรี่

11 การประเมินพลังงาน ในเด็กและวัยรุ่น
- อายุ 1 ขวบ 1,000 กิโลแคลอรี่ / วัน (ใน 1 ขวบปีแรก) ขวบ 1,000 + ( 100 x อายุ ) (ไม่เกิน 2,000 กิโลแคลอรี่เมื่ออายุไม่เกิน 10 ขวบ)

12 การประเมินพลังงาน ในเด็กและวัยรุ่น (ต่อ)
- หญิงอายุ ปี 2,000 กิโลแคลอรี่ + (50 ถึง 100) x อายุหลัง 10 ปี - ชายอายุ ปี 2,000 กิโลแคลอรี่ + (200 x อายุหลัง 10 ปี) - หญิง – ชาย อายุ > 15 ปี คำนวณเหมือนผู้ใหญ่

13 การประเมินพลังงานในหญิงตั้งครรภ์
- ช่วง 3 เดือนแรก ความต้องการพลังงานคือ กิโลแคลอรี่/น้ำหนักตัว/กิโลกรัม - หลัง 3 เดือน ความต้องการพลังงานคือ กิโลแคลอรี่/น้ำหนักตัว/กิโลกรัม

14 การประเมินพลังงานในหญิงตั้งครรภ์(ต่อ)
อาจจะต้องลดพลังงานถ้า *อ้วน *มีน้ำหนักขึ้นเร็วเกินควร *เป็นผู้ใช้แรงงานเบา - ช่วงให้นมบุตร ความต้องการพลังงานคือ กิโลแคลอรี่/น้ำหนักตัว/กิโลกรัม

15


ดาวน์โหลด ppt การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google