งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล
ฐานข้อมูลมติคณะรัฐมนตรีจัดเก็บข้อมูลตั้งแต่ปี 2501 ถึงปัจจุบัน มีจำนวนเรื่องทั้งสิ้นประมาณ 110,000 มติ ฐานข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี มีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล ดังนี้ ชื่อเรื่อง ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง วันที่มีมติ สรุปประเด็น เอกสารภาพ : ชื่อมติคณะรัฐมนตรี : อักษรย่อของกระทรวงหรือส่วนราชการที่เป็นเจ้าของเรื่อง : วันเดือนปีที่มีการประชุม ครม. และได้มีมติในเรื่องนั้น : สรุปประเด็นข้อเสนอและความคิดเห็นประเด็นสำคัญของมติ : สำเนาเอกสารต่างๆ ของเรื่องในรูปแบบ image เช่นหนังสือต้นเรื่อง หนังสือยืนยันมติ เป็นต้น (เอกสารภาพมีการจัดเก็บเกือบครบทุกเรื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ ถึงปัจจุบัน และทุกเรื่อง ที่เป็นมติเวียนให้ส่วนราชการและผู้ที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติ ส่วนเอกสารภาพย้อนหลัง ตั้งแต่ปี พ.ศ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้จัดเก็บเข้าสู่ระบบเป็นระยะๆ) คำสำคัญ : คำสำคัญจากชื่อเรื่อง จากข้อเสนอและความคิดเห็น และจากมติคณะรัฐมนตรี : เลขที่หนังสือพร้อมปี พ.ศ. ของเอกสารต่างๆ ของเรื่อง (ตามรายการเอกสารภาพ) เลขที่หนังสือ

3 การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี แบ่งเป็น 2 กรณี คือ
1. กรณีที่ทราบข้อมูลบางอย่างของเรื่อง เช่น ทราบวันที่คณะรัฐมนตรีมีมติในเรื่องนั้น หรือทราบเลขที่ หนังสือของมติเรื่องนั้น ฯลฯ ให้ใช้สิ่งที่ทราบเป็นดัชนีในการสืบค้น 2. กรณีที่ไม่ทราบข้อมูลของเรื่อง  ให้ใช้คำสำคัญเป็นดัชนีในการสืบค้น คำแนะนำในการกำหนดคำสำคัญ ผู้ใช้ต้องพิจารณาว่าประเด็นสำคัญของมติหรือเรื่องที่ต้องการคืออะไร เช่น ต้องการมติเกี่ยวกับ การออกมาตรการต่างๆ ของรัฐบาล เพื่อให้ภาครัฐและเอกชนร่วมมือกันประหยัดพลังงาน จากนั้นพิจารณาหาคำสำคัญจากประเด็นดังกล่าว กรณีนี้ควรใช้ 3 คำ คือ มาตรการ ประหยัด พลังงาน หากคำสำคัญที่เลือกเป็นคำเฉพาะ เช่น ชื่อบุคคล หรือชื่อสถานที่ ฯลฯ การใช้คำสำคัญเพียง 1 คำ ก็อาจเพียงพอที่จะได้ผลลัพธ์ตามต้องการ หากคำสำคัญที่เลือกเป็นคำทั่วไป มีความหมายกว้างๆ เช่น นโยบาย งบประมาณ ควรใช้คำสำคัญเชื่อมกัน 2-3 คำ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการมากที่สุด หลีกเลี่ยง! การใช้คำสำคัญประเภทคำทั่วไปเพียง 1 คำ เพราะจะทำให้การประมวลผลช้ามาก และผลลัพธ์ที่ออกมา อาจมากจนไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ทั้งนี้ การสืบค้นข้อมูลด้วยการใช้คำสำคัญ ผู้ใช้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการรวบรวม หรือประมวลมติคณะรัฐมนตรีตามหัวเรื่องที่ต้องการได้

4 กรณีที่ 1 : ตัวอย่างที่ 1

5

6

7

8

9

10 สำหรับท่านที่ยังไม่เคยเข้าระบบสืบค้นเมื่อเข้ามายังหน้าดูเอกสาร
ถ้าหน้าแรกขึ้นแบบนี้แสดงว่ายังไม่ได้ลง ActiveX ให้กดปุ่ม Yes

11 ถ้าหน้าจอปรากฏดังนี้ให้คลิกที่ข้อความด้านบนเพื่อลงทะเบียนโปรแกรมการดูภาพ
ซึ่งจะลงทะเบียนครั้งแรกเพียงครั้งเดียว

12

13 จะปรากฏหน้าจอให้กรอกข้อมูลส่วนตัวของผู้ลงทะเบียน

14 โปรแกรมจะบังคับให้กรอกสามช่องนี้ให้ครบถ้วน เมื่อกรอกครบถ้วนกดปุ่ม Next

15 กดปุ่ม Send Registration

16 กดปุ่ม Ok

17

18 กรณีที่ 1 : ตัวอย่างที่ 2

19

20

21 กรณีที่ 2 : ตัวอย่างที่ 1

22

23

24 กรณีที่ 2 : ตัวอย่างที่ 2

25

26

27

28

29


ดาวน์โหลด ppt ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google