ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
การฝึกอบรมหลักสูตรพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
2
ความเป็นมา พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ผู้กระทำผิด
3
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจ อำนาจและหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ตลอดจน กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องและสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ และทักษะใน การให้ความช่วยเหลือและคุ้มครอง ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ รวมทั้ง ทักษะการทำงานในรูปแบบสหวิชาชีพ
4
วัตถุประสงค์ (ต่อ) เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือระหว่างผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตาม กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
5
คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น
พนักงานเจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ และมีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง
6
คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น
กฎกระทรวง คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ 1. เป็นข้าราชการไม่ต่ำกว่าข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ 2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 3. เคยปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 1 ปี 4. มีความประพฤติเหมาะสม (หัวหน้าหน่วยงานรับรอง) 5. ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่ ปพม.กำหนดและผ่านการประเมินจากคณะกรรมการประเมินที่ ปพม.แต่งตั้ง
7
เนื้อหาหลักสูตร แบ่งเป็น ๓ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑ พื้นฐาน นโยบายและกลไกการดำเนินงาน สิทธิมนุษยชน มิติทางสังคม วัฒนธรรม และมิติหญิงชาย
8
ส่วนที่ ๒ วิชาแกนหลัก ความหมาย การคัดแยก พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ บทบาทพนักงานเจ้าหน้าที่ฯ การปฏิบัติงานในรูปแบบสหวิชาชีพ ส่วนที่ ๓ วิชาประกอบ กฎ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวปฏิบัติในการสืบสวนสอบสวนคดีค้ามนุษย์ ประเมินสภาวะสุขภาพจิต บทบาทของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวง แรงงาน ยุติธรรม การบังคับใช้กฎหมายฟอกเงิน
9
ส่วนที่ ๓ การพัฒนาทักษะการคัดแยก/ การสัมภาษณ์ผู้เสียหาย และปฏิบัติงานในรูปแบบสหวิชาชีพ การศึกษาดูงานระบบการให้ความคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหาย
10
วัดความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม
การทดสอบความรู้ก่อน – หลัง การฝึกอบรม เพื่อวัดความรู้ เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด
11
เกณฑ์การประเมิน ผ่านการอบรมหลักสูตรการเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ
มีคุณสมบัติตามที่กฎกระทรวงกำหนด ผ่านการอบรมหลักสูตรการเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ โดยมีระยะเวลาการเข้ารับการ ฝึกอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของระยะเวลา ทั้งหมด ผ่านการประเมินมีคะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗๐ ของ คะแนนทั้งหมด
12
การประเมิน ภาคทฤษฎี ๖๐ คะแนน มีการ ทดสอบ ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ วิชาคัด แยก (๒๐ คะแนน) ครั้งที่ ๒ ประมวลวิชา (๔๐ คะแนน) การฝึกปฏิบัติ ๓๐ คะแนน คะแนนพฤติกรรม (ความตั้งใจและ การมีส่วนร่วม)
13
การประเมิน สำหรับผู้ไม่ผ่านการประเมิน มี สิทธิขอรับการประเมินจาก คณะกรรมการประเมินฯ ใหม่ตาม รูปแบบและวิธีการที่คณะกรรมการ ประเมินฯ กำหนดภายใน ๑๕ วัน นับจากได้รับแจ้งจาก คณะกรรมการประเมินฯ
14
ผลการดำเนินงาน จัดฝึกอบรมฯ จำนวน ๔ ครั้ง ณ จังหวัดชลบุรี เชียงราย นครราชสีมา และ สงขลา มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน ๒๔๔ คน และผ่าน การประเมินและได้รับแต่งตั้ง เป็นพนักงาน เจ้าหน้าที่ฯ
15
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
16
ผลการวัดความรู้ก่อน – หลัง การฝึกอบรม
ผลการดำเนินงาน ผลการวัดความรู้ก่อน – หลัง การฝึกอบรม ผลการประเมิน มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นประมาณ ๖ – ๗ คะแนน มีคะแนนเฉลี่ย ๘๙.๑๑ คะแนน
17
ข้อเสนอแนะ ขอให้จัดฝึกอบรมทบทวน ความรู้/ความรู้ใหม่ๆ เป็น ประจำทุกปีอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการเรียนรู้/แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ของพนักงานเจ้าหน้าที่ฯ ควรมีกิจกรรมสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้ารับ การฝึกอบรมให้มากกว่านี้
18
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.