งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
เสนอโดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

2 ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุ
กระทรวง พม.สนับสนุน ) งบประมาณเริ่มต้น ) งานวิชาการ ) บุคลากรเป็นพี่เลี้ยงกำกับดูแลงาน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ หน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น กลุ่มองค์กรอื่นๆ กิจกรรมในศูนย์ 1. ส่งเสริมสุขภาพอนามัย : จัดให้มีมุมออกกำลังกาย และการให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาสุขภาพ 2. สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ : จัดให้มีมุมบริการข่าวสาร ความรู้ ด้านสุขภาพ ด้านกฎหมาย ด้านการศึกษา ฯลฯ และให้มีมุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้สูงอายุ 3. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมด้านอาชีพ : จัดให้มีการฝึกอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ และมุมจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 4. ส่งเสริมการผลิต การจำหน่ายผลิตภัณฑ์และการรับงาน ไปทำที่บ้าน 5. การถ่ายทอดวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. กิจกรรมนันทนาการ ศาสนา ประเพณี 7. จัดให้มีระบบฐานข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่ 8. ให้มีบริการให้คำปรึกษาตามความต้องการของผู้สูงอายุ 9. เป็นศูนย์ประสานงานอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมนอกศูนย์ 1. การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ 2. การเยี่ยมผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย 3. ให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เดือดร้อน 4. การถ่ายทอดภูมิปัญญา 5. จิตอาสา 6. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัย    ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ คณะกรรมการศูนย์  ชมรมผู้สูงอายุ  สมาชิกและอาสาสมัคร 2

3 ผู้สูงวัย กายใจเบิกบาน”
แนวคิดในการจัดตั้งศูนย์ฯ “ ร่วมแรง ร่วมใจ ผู้สูงวัย กายใจเบิกบาน” วัตถุประสงค์การจัดตั้งศูนย์ฯ 1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสถานที่ ในการจัดกิจกรรมและบริการ สำหรับผู้สูงอายุ 3. เพื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมอาชีพและการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับ การพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม 5. เพื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ

4 ข้อกำหนดของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
1. ด้านอาคารสถานที่ 2. การบริหารจัดการ ภายในศูนย์ฯ 3. กิจกรรมในศูนย์ฯ 1. จัดการประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ 2. จัดประชุมชมรมผู้สูงอายุ 3. จัดกิจกรรมด้านสังคม และอาชีพ 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 5. จัดกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ตาม ความต้องการของผู้สูงอายุ ปรับปรุงอาคารที่มีอยู่เดิม /ขยายพื้นที่เพื่อจัดให้มีมุมกิจกรรมต่างๆ และจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ เช่น ติดตั้งราวจับในห้องน้ำ ทางลาดบริเวณทางเข้าอาคาร เป็นต้น จัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานและการบริหารจัดการศูนย์ 1. การบริหารจัดการศูนย์ฯ - ให้มีคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ โดยประธานศูนย์ต้องเป็นผู้แทนชมรมผู้สูงอายุ - ชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการฯและสมาชิก - มีระเบียบกฎเกณฑ์การดำเนินงานศูนย์ - อปท.จัดหาบุคลากรประจำศูนย์ฯ อย่างน้อย 1 คน - มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่ - มีแผนงานในการจัดกิจกรรม 2. การบริหารการเงินของศูนย์ - รายได้จากการประสานแหล่งเงินทุนสนับสนุนการดำเนินงาน - รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของศูนย์

5 ขั้นตอนการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
1. จัดหาสถานที่ตั้งศูนย์ฯ (จัดหาอาคารใหม่ หรือปรับปรุงอาคารเดิมที่มีอยู่แล้ว) 2. จัดประชุมชี้แจงในระดับชุมชน เพื่อร่วมกันจัดตั้งศูนย์ โดยเป็นไปตามความต้องการของผู้สูงอายุ 3. จัดหาสมาชิกจากชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ 4. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารฯ โดยประธานต้องเป็นผู้แทนชมรมผู้สูงอายุและจัดทำระเบียบ กฎเกณฑ์ของศูนย์ 5. จัดตั้งศูนย์ฯ และดำเนินกิจกรรม 6. ติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ

6 เป้าหมาย / งบประมาณดำเนินการ
ปีงบประมาณ พื้นที่ดำเนินการ (อปท.) ปี 2556 99 แห่ง (ใช้ศูนย์ฯ ของ พม. ที่มีอยู่แล้ว) ปี 2557 878 (อำเภอละ 1 แห่ง) ปี 2558 3,050 ปี 2559 3,926 รวมปี 7,853


ดาวน์โหลด ppt “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google