งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2555 ประชุมคณะกรรมการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2555 ประชุมคณะกรรมการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2555 ประชุมคณะกรรมการ
วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน 2555 ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

2 กำหนดการประชุม วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการกระชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่2/2555 วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย รายงานผลการประเมินตนเองกรมอนามัย ปี 2555 3.3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2556 3.4 การดำเนินงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้าง ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 3.5 การดำเนินงานควบคุมภายใน วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 การกำหนดตัวชี้วัด มิติประสิทธิผล 4.2 การกำหนดตัวชี้วัด มิติที่ 2-4 ระดับหน่วยงาน 4.3 การเลือกกระบวนงานบริการเพื่อประเมินความพึงพอใจ 4.4 การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA ระดับกรมและหน่วยงาน 4.5 กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการปี 2556 4.6 พิธีลงนามคำรับรองฯ ระหว่างกรมกับหน่วยงาน วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)

3 วัตถุประสงค์การประชุม
ทราบการดำเนินงาน ที่ผ่านมา พิจารณาสื่งที่จะดำเนินการต่อไป วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการกระชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่2/2555 วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย รายงานผลการประเมินตนเองกรมอนามัย ปี 2555 3.3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2556 3.4 การดำเนินงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้าง ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 3.5 การดำเนินงานควบคุมภายใน วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 การกำหนดตัวชี้วัด มิติประสิทธิผล 4.2 การกำหนดตัวชี้วัด มิติที่ 2-4 ระดับหน่วยงาน 4.3 การเลือกกระบวนงานบริการเพื่อประเมินความพึงพอใจ 4.4 การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA ระดับกรมและหน่วยงาน 4.5 กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการปี 2556 4.6 พิธีลงนามคำรับรองฯ ระหว่างกรมกับหน่วยงาน วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)

4 วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ เสนอแนวทางในการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัยได้แจ้งเวียนให้คณะกรรมการทราบแล้ว (เอกสารหมายเลข 2) วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 คำสั่งกรมอนามัย ที่ 267/2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย สั่ง ณ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555 (เอกสารหมายเลข 3)

5 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
คะแนนรวม 3.2 ผลการประเมินตนเองตามคำรับรองฯ ปี 2555 การประเมินประสิทธิผล ตัวชี้วัด เป้าหมาย (ระดับ 5) ผลงาน คะแนน 3. ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ของกลุ่มภารกิจ 3.1 ร้อยละของ รพ.ใน/นอกสังกัด กท.สธ. ผ่านเกณฑ์ HPH+ 75.75 73.34 3.2 ร้อยละความพึงพอใจและความ เชื่อมั่นต่อองค์ความรู้ 85 94.16 4. ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ/ ภารกิจหลักของกรม 4.1 ร้อยละของ รพ.สายใยรักผ่านเกณฑ์ ระดับทอง 92 95.50 4.2 จำนวน รร.ผ่านเกณฑ์ระดับเพชร 101 105 4.3 จำนวนจังหวัดที่มีสถานบริการ สาธารณสุขลดโลกร้อน 76 72 4.0360 5.0000 5.0000 5.0000 4.5000

6 รอผลการประเมินจาก สนง.กพร.
การประเมินคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย (ระดับ 5) ผลงาน คะแนน 5. ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ 85 รอผลการประเมินจาก สนง.กพร. 1.0000 6. ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้กำหนดนโยบาย 1.0000 1.0000

7 การประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย (ระดับ 5) ผลงาน คะแนน 7. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุน ต่อหน่วยผลผลิต 5 8. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งปม.ตามแผน 95 94.32 9. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งปม.รายจ่ายลงทุน 74 65.1 10. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งปม.รายจ่ายภาพรวม 89.73 11. ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิต ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย 11.1 โครงการศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ (20 โครงการ) ร้อยละ 100 20 โครงการ 11.2 ปชช.และภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอด ความรู้ (77,000 คน) 77,280 คน 11.3 นมผงได้รับการจัดหาเพื่อป้องกันการ ติดเชื้อ HIV (268,800 กิโลกรัม) 268,800 กิโลกรัม 12. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานประหยัด พลังงาน - น้ำมันเชื้อเพลิงประหยัดได้ 15.11% - ไฟฟ้าใช้เพิ่มขึ้น % 5.0000 4.7280 1.0000 1.0000 5.0000 5.0000 5.0000 3.5000

8 การพัฒนาองค์การ ตัวชี้วัด เป้าหมาย (ระดับ 5) ผลงาน คะแนน 13. ระดับความสำเร็จของพัฒนา สมรรถนะ 5 รอผลการประเมินครั้งที่ 2 ผลการประเมินครั้งแรก=73.58 14. ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงสารสนเทศ 3.0000 14.1 ส่วนต่างของความเห็นและ ความสำคัญ (ประเมิน online) ผลการประเมินครั้งแรกส่วนต่าง=0.3 14.2 จำนวนข้อมูลด้าน ประสิทธิภาพของระบบ สารสนเทศ 10 ข้อ 15. ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร ผลการประเมินครั้งแรกส่วนต่าง=0.4 1.0000 1.0000 5.0000 1.0000 ขอความร่วมมือข้าราชการทุกคนเข้าประเมินออนไลน์ พฤศจิกายน 2555

9 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
3.3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย 1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและ ภารกิจหลักของกระทรวง (30) 2. ภารกิจหลักของกรมและ Joint KPI (27) 3. ASEAN (3) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 4. ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ (10) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (3) 6. ประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ (5) 7. มาตรการประหยัดพลังงาน (3) 8. ประสิทธิภาพของกระบวนงาน (4) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 15) 9. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (5) 10. การใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) 11. วัฒนธรรมองค์การ (3) 12. ความโปร่งใส (4)

10 เกณฑ์การประเมิน ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 65 70 75 80 85 เกณฑ์ เงื่อนไขการประเมิน 1. ผู้รับบริการ หมายถึง ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของกรมอนามัย) หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มารับ บริการจากกรมอนามัย 2. ประเด็นการสำรวจความพึงพอใจ 1) ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2) ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3) ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 4) ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ 5) ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ 3. การประเมินผล พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการของ กรมอนามัย โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติเป็นผู้ดำเนินการสำรวจและวิเคราะห์ผล

11 ตัวชี้วัดที่ 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ตรวจสอบความถูกต้องของการระบุค่าใช้จ่ายเข้าสู่กิจกรรมย่อยในระบบ GFMIS 2 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ และปีงบประมาณ พ.ศ และวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง 4 จัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ และแผนได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการ 5 สามารถดำเนินการตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพได้ตามเป้าหมายที่กำหนดพร้อมทั้งจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน และได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ ส่งเอกสารหลักฐานถึงสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงาน ก.พ.ร. ตามกำหนดเวลา

12 ตัวชี้วัดที่ 6 ประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 85.00 87.50 90.00 92.50 95.00 เกณฑ์ ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 70 71 72 73 74 เกณฑ์ ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 91 92 93 94 95 เกณฑ์

13 ตัวชี้วัดที่ 7 มาตรการประหยัดพลังงาน
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 - จัดตั้ง “คณะทำงานลดใช้พลังงาน” และหัวหน้าหน่วยงานลงนามใน คำสั่ง - จัดทำ “แผนปฏิบัติการลดการใช้ไฟฟ้า” และรายงานติดตามผล 2 ครั้ง 2 ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ปีงบประมาณ พ.ศ และ 2556 ครบถ้วน 3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ไม่เปลี่ยนแปลง 4 ประหยัดไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ได้ มากกว่าร้อยละ 0 ถึง ร้อยละ 5 5 ประหยัดไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ได้ มากกว่าร้อยละ 5 ถึง ร้อยละ 10 ขึ้นไป * กรณีหน่วยงานมีปริมาณการใช้ไฟฟ้าในปีงบประมาณ พ.ศ เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ พ.ศ จะต้องประหยัดไฟฟ้าให้ได้ร้อยละ 15 ขึ้นไป

14 ตัวชี้วัดที่ 8 ประสิทธิภาพของกระบวนงาน
เลือกกระบวนงานสร้างคุณค่าของกรม 3 กระบวนงาน ประเมินความสำเร็จตามขั้นตอนการดำเนินงานที่กำหนดในกระบวนงาน ตัวชี้วัดที่ 9 การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้ค่าคะแนนจากการประเมินสมรรถนะ หลัก (Core competency) ตามแนวทางของ ก.พ. - การประเมินผล พิจารณาจากผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรของ กรมอนามัย ครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน -กันยายน 2555) เปรียบเทียบกับ ครั้งที่ 2 (เดือนเมษายน - กันยายน 2556)

15 ตัวชี้วัดที่ 10 การใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ(User Satisfaction) โดยใช้แบบสำรวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Survey) เป็นการสำรวจแบบออนไลน์ โดยจะมีการประเมิน 2 ครั้ง ใช้การเปรียบเทียบ Gap ครั้งที่ 1 วันที่ พฤศจิกายน และ ครั้งที่ 2 วันที่ พฤศจิกายน 2556 2) การประเมินจากข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้การตรวจประเมินจากหลักฐาน ณ กรมอนามัย

16 ตัวชี้วัดที่ 11. วัฒนธรรมองค์การ
ประเมินโดยใช้แบบสำรวจบรรยากาศภายในองค์การ (Organization Climate Survey) ผ่านระบบออนไลน์ ประเมินปัจจัย 5 เรื่อง วัฒนธรรม (Culture) ผู้นำ (Leadership) การทำงานเป็นทีม (Teamwork) การอุทิศตนและความมุ่งมั่นในการทำงาน (Personal Contribution) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนา (Knowledge Management) ประเมินพฤติกรรมเชิงลบ 2 เรื่อง - การล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ (Sexual Harassment) - ความโปร่งใส ประเมิน 2 ครั้ง ใช้การเปรียบเทียบ Gap ครั้งที่ 1 (วันที่ พฤศจิกายน 2555) และ ครั้งที่ 2 (วันที่ พฤศจิกายน 2556)

17 ตัวชี้วัดที่ 12 ความโปร่งใส
ประเมินตาม “ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ” กระบวนงานศึกษาวิจัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

18 กระบวนงานศึกษาวิจัย วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
3.4 ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการของกรมอนามัย กระบวนงานศึกษาวิจัย ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กพร. ได้แจ้งเวียนให้ทุกหน่วยงานทราบและร่วมดำเนินการแล้ว ตามหนังสือเลขที่ สธ 0926/ว5301 ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2555 และที่ สธ 0926/ ว6774 ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2555 18

19 ความเป็นมา คะแนน ข้อ 1.3 ป้องกันและปราบปราบการทุจริต
เป้าหมาย10 คะแนน ความเป็นมา 5 10 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย = คะแนน และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น รัฐบาลได้ให้ความสำคัญและประกาศนโยบายเร่งด่วนที่ต้องเร่งดำเนินการ ข้อ 1.3 ป้องกันและปราบปราบการทุจริต ประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง ให้ส่วนราชการ 159 หน่วยงาน 76 จังหวัด จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ 19

20 ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส
ในการปฏิบัติราชการของกรมอนามัย กระบวนงานศึกษาวิจัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปัญหาหลักของ กระบวนการ ศึกษาวิจัยฯ ด้านเงิน ด้าน คุณภาพ ใช้งบประมาณ ผิดประเภท/ ผิดระเบียบ จัดจ้างในราคา สูงเกินจริง ไม่ดำเนินการ จริง แต่มีการ เบิกจ่าย ไม่มีการ เผยแพร่ ผลงานวิจัย ไม่มีการ นำไปใช้ ประโยชน์ จ้างเก็บข้อมูล จ้างวิเคราะห์ สร้างเอกสารเท็จ 20

21 ทุกหน่วยงาน : ร่วมดำเนินการและรายงานผลโครงการศึกษาวิจัยของหน่วยงาน
เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บังคับใช้กฎหมาย ลงโทษผู้กระทำความผิด กองคลัง กตส. กฎหมาย กฎระเบียบ กอง จ. สร้างระบบตรวจสอบ ควบคุมกำกับการเบิกจ่ายงบประมาณฯ สร้างระบบกำกับ ติดตาม ประเมินผลกระบวนการวิจัย และการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ กำหนดเกณฑ์ในการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยที่ชัดเจน กตส. พัฒนา เครื่องมือ กพว.กรม แนวทางการดำเนินงาน กพว.กรม เสริมพลัง ประชาชน/ ผู้รับบริการ เปิดโอกาสให้ผู้วิจัยมีช่องทางเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะ ส่งเสริมนโยบายป้องกันทุจริตคอร์รัปชั่นของกรมอย่างจริงจัง สลก. กพร. สลก. ทุกหน่วยงาน : ร่วมดำเนินการและรายงานผลโครงการศึกษาวิจัยของหน่วยงาน

22 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
3.5 การดำเนินงานควบคุมภายใน การควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6) ส่วนราชการมีหน้าที่ ประเมินระบบการควบคุมภายใน รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เสนอต่อ คตง. การดำเนินงานของกรมอนามัย คณะกรรมการติดตามประเมินผลระบบควบคุมภายในกรมอนามัย ประชุมเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2555 - กำหนดแผนดำเนินงานประเมินผลการควบคุมภายใน กรมอนามัย ปี 2555 - กำหนดแนวทางการดำเนินงานควบคุมภายใน ปี 2556

23 แผนการรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 2555
6 5 รายงาน ปอ.1 รายงาน ปส. ระดับกรม ส่ง สตง. ภายใน 30 ธ.ค.55 3 รายงาน ปอ.2 ประเมินองค์ประกอบ รายงาน ปอ.3 แผนการปรับปรุง 4 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุง (31มี.ค. และ 30 ก.ย.) ส่งกองคลัง ภายใน 31 ต.ค.55 รายงาน ปย.2 2 การประเมินผลและการปรับปรุง การควบคุมภายใน ประเมินด้วยเครื่องมือ/ เทคนิคต่างๆ เช่น แบบสอบถาม(ภาคผนวก ข) 1 รายงาน ปย.1 ระดับหน่วยงาน ประเมินองค์ประกอบ การควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ ปย.2 งวดก่อน การปรับปรุงการควบคุม ภาคผนวก ก

24 แนวทางการดำเนินงานควบคุมภายในปีงบประมาณ พ.ศ.2556
1. การควบคุมภายในเป็นเรื่องที่ต้องดำเนินการตามระเบียบ คตง.เป็นการประจำทุกปี  ไม่กำหนดเรื่องการควบคุมภายในเป็นตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน 2. หน่วยงานต้องจัดทำรายงานเสนอต่อกรมอนามัย ดังนี้ รายงานผลตามแผนปรับปรุงของกรมงวดก่อน (แบบติดตาม ปอ.3) ปีละ 2 งวด ส่งภายในวันที่ 31 มีนาคม และ 30 กันยายนของทุกปี รายงานผลการประเมิน 5 องค์ประกอบตามแบบ ปย.1 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงตามแบบ ปย.2 3. การรายงานตามแบบ ปย.2 ให้เลือก โครงการ/กระบวนการปฏิบัติงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน อย่างน้อย 2 กระบวนการ กระบวนการตามภารกิจสนับสนุนอย่างน้อย 1 กระบวนการ และหากความเสี่ยงตามรายงานงวดก่อน (ปี2554) ยังแก้ไขไม่หมดให้นำกระบวนการนั้น มาประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายในเพิ่มด้วย ส่งภายในวันที่ 30 กันยายน ที่มีความเสี่ยงสูง มาประเมินการควบคุม

25 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา

26 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
3.3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย 1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและ ภารกิจหลักของกระทรวง (30) 2. ภารกิจหลักของกรมและ Joint KPI (27) 3. ASEAN (3) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 4. ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ (10) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (3) 6. ประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ (5) 7. มาตรการประหยัดพลังงาน (3) 8. ประสิทธิภาพของกระบวนงาน (4) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 15) 9. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (5) 10. การใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) 11. วัฒนธรรมองค์การ (3) 12. ความโปร่งใส (4)

27 กองแผนงานเป็นหลักในการเข้าร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นพิจารณา การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) 1. เป้าหมายตามนโยบายของรัฐบาลและภารกิจหลักของกระทรวง (30) 2. เป้าหมายตามภารกิจหลักของกรม และ Joint KPI (27) 3. ASEAN Readiness (3) สนย.สธ. การกำหนด Joint KPI เลือกตัวชี้วัด เพื่อเสนอต่อกระทรวง สาธารณสุข Joint KPI เป็นตัวชี้วัดระดับกรม ที่มีการดำเนินงานร่วมกันระหว่างส่วนราชการ ไม่จำกัดเฉพาะกรมในกลุ่มภารกิจเดียวกัน ประเมินผลด้วยตัวชี้วัดเดียวกันและได้รับผลคะแนนเท่ากัน แต่น้ำหนักไม่จำเป็นต้องเท่ากัน เลือกแผนงาน/โครงการ กองแผนงานเป็นหลักในการเข้าร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข

28 แผนงาน/โครงการ/ ประเด็นงาน
(เอกสาร4) 4.1 กำหนดตัวชี้วัดมิติประสิทธิผล ด้านส่งเสริมสุขภาพ แผนงาน/โครงการ/ ประเด็นงาน ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เจ้าภาพ วัดส่งเสริมสุขภาพ/ปลอดโรค *** ร้อยละวัดส่งเสริมสุขภาพ/ปลอดโรคผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 20 สำนัก ส. อำเภอ 80 ยังแจ๋ว ** จำนวนอำเภอที่เข้าร่วมกระบวนการ อำเภอ 80 ยังแจ๋ว 1 จังหวัด 1 อำเภอ 80 ยังแจ๋ว ส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็ก ปฐมวัย อย่างองค์รวม ** ร้อยละของ รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว ร้อยละ 35 ของอำเภอๆ ละ 1 ตำบล (364 ตำบล) คนไทยไร้พุง ปี 2556 (วัยทำงานไม่อ้วน) ** จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 152 แห่ง (จังหวัดละ 2 แห่ง สำนักโภชฯ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนวัยรุ่น ** รพ.สังกัด กท.สธ.(รพศ. รพท. รพช.) ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรอง รพ.ตาม มฐ.บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน สำนัก อพ. ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก ** ร้อยละศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็ก 3-5 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 85 สำนักทันตฯ โรงเรียนเด็กไทยฟันดี ** ร้อยละ รร.ประถมศึกษาไม่มีการจำหน่ายหรือจัดน้ำอัดลมให้แก่เด็ก ร้อยละ 80 พัฒนาคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ** ร้อยละของสถานบริการในสังกัด กท.สธ. ดำเนินงานคลินิก DPAC ตามเกณฑ์การประเมินของกรมอนามัย ร้อยละ 100 รพ.สต.ร้อยละ 50 ของทุกอำเภอ กองออกฯ 1 2 3 4 5 6 7 8

29 ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
(เอกสาร4) 4.1 กำหนดตัวชี้วัดมิติประสิทธิผล ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม แผนงาน/โครงการ/ ประเด็นงาน ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เจ้าภาพ สธ.รวมใจรณรงค์ลดโลกร้อนด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ** จำนวนสถานบริการ สธ.สังกัด สป. เป็นสถานบริการ สธ. ที่ดำเนินกิจกรรม GREEN ครบ 200 สำนัก ว. พัฒนาระบบการจัดการ สอ. ของ อปท. ** จำนวน อปท. ที่เข้าร่วมโครงการ มีระบบการจัดการ สอ.ระดับพื้นฐาน 24 แห่ง สำนัก สอ. ตลาดนัดน่าซื้อ ** จำนวนตลาดประเภทที่ 2 (ตลาดนัด)ผ่าน มฐ.ตลาดนัดน่าซื้อระดับพื้นฐาน จังหวัดละ 1 แห่ง พัฒนาระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐานสำหรับ อปท. * จำนวน อปท. ที่เข้าร่วมโครงการมีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน น้ำประปาดื่มได้ * จำนวนระบบประปาที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์น้ำประปาดื่มได้ 150 แห่ง อาหารสะอาด รสชาติอร่อย * ร้อยละของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้ มฐ. CFGT ร้อยละ 85 ตลาดสดน่าซื้อ * ร้อยละของตลาดประเภทที่ 1 (ตลาดสด) ที่ได้ มฐ.ตลาดสดน่าซื้อ ร้อยละ 80 อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง สำนัก สอ. 1 2 3 4 5 6 7

30 พิจารณาคัดเลือกตัวชี้วัด มิติที่ 1 ระดับกรมและหน่วยงาน
ด้านส่งเสริมสุขภาพ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละวัดส่งเสริมสุขภาพ/ปลอดโรคผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน *** จำนวนสถานบริการ สธ.สังกัด สป. เป็นสถานบริการ สธ. ที่ดำเนินกิจกรรม GREEN ครบ** จำนวนอำเภอที่เข้าร่วมกระบวนการ อำเภอ 80 ยังแจ๋ว ** จำนวน อปท. ที่เข้าร่วมโครงการ มีระบบการจัดการ สอ.ระดับพื้นฐาน ** ร้อยละของ รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว ** จำนวนตลาดประเภทที่ 2 (ตลาดนัด)ผ่าน มฐ.ตลาดนัดน่าซื้อระดับพื้นฐาน ** จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ** จำนวน อปท. ที่เข้าร่วมโครงการมีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน * รพ.สังกัด กท.สธ.(รพศ. รพท. รพช.) ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรอง รพ.ตาม มฐ.บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ** จำนวนระบบประปาที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์น้ำประปาดื่มได้ * ร้อยละศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็ก 3-5 วัน/สัปดาห์ ** ร้อยละของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้ มฐ. CFGT * ร้อยละ รร.ประถมศึกษาไม่มีการจำหน่ายหรือจัดน้ำอัดลมให้แก่เด็ก ** ร้อยละของตลาดประเภทที่ 1 (ตลาดสด) ที่ได้ มฐ.ตลาดสดน่าซื้อ * ร้อยละ 100 ของ รพท. รพศ. รพช. ดำเนินการคลินิกDPAC ** -ร้อยละ 50 ของ รพ.สต.ของทุกอำเภอ ดำเนินการคลินิก DPAC ** 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8

31 ตัวชี้วัดมิติที่ 1 (ประสิทธิผล) ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานปี 2555
ข้อมูลเดิม ตัวชี้วัดมิติที่ 1 (ประสิทธิผล) ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานปี 2555 ตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละของโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง 4.2 จำนวนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 4.3 จำนวนจังหวัดที่มีสถานบริการสาธารณสุขต้นแบบลดโลกร้อน 4.4 จำนวนตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 4.5 จำนวนหน่วยงานภาครัฐจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 4.6 จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 4.7 จำนวนชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 4.8 ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน 4.9 จำนวนตำบลต้นแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ตัวชี้วัดระดับกรม

32 ASEAN

33    ข้อพิจารณา : เห็นด้วยตามที่เสนอหรือไม่
พิจารณาตัวชี้วัด มิติที่ 2-3 เพื่อกำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัด เจ้าภาพ เจ้าภาพดำเนินการเอง กำหนดเป็นตัวชี้วัดหน่วยงาน การประเมินคุณภาพ 4. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ กพร. การประเมินประสิทธิภาพ 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต กองคลัง 6. ประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ 7. มาตรการประหยัดพลังงาน สลก. 8. ประสิทธิภาพของกระบวนงาน หมวด 6 ประเด็นที่ขอเสนอให้กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน การดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (กอง จ.) ความสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิต เอกสารงบประมาณรายจ่าย (กอง ผ.) ข้อพิจารณา : เห็นด้วยตามที่เสนอหรือไม่

34 ตัวชี้วัด มิติที่ 4 เพื่อกำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน
เจ้าภาพ กำหนดเป็นตัวชี้วัดหน่วยงาน การพัฒนาองค์การ 9. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร กอง จ. ตัวชี้วัดหมวด 5 10. การใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ กองแผนงาน ตัวชี้วัดหมวด 4 11. วัฒนธรรมองค์การ กพร. ไม่เป็นตัวชี้วัด แต่ให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ 12. ความโปร่งใส พิจารณาในวาระที่ 4.4

35 4.3 การเลือกกระบวนงานบริการเพื่อประเมินความพึงพอใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกงานบริการ (1) เป็นงานบริการ ที่เป็นภารกิจหลักของส่วนราชการ (2) เป็นงานบริการที่มีผู้ใช้บริการจำนวนมาก มีผลกระทบสูงต่อประชาชน พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ โดยผู้ประเมินภายนอก ประเด็นการสำรวจความพึงพอใจ ด้านต่าง ๆ ดังนี้ (1) ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ (2) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (3) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (4) ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ (5) ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ1 ระดับ2 ระดับ3 ระดับ4 ระดับ5 65 70 75 80 85 กรมอนามัยต้องเสนองานบริการตามหลักเกณฑ์ ไม่เกิน 3 งานบริการ

36 งานบริการที่เสนอรับการประเมินจากสำนักงาน ก.พ.ร.
ปี 2548 ปี 2549 1. การบริการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี 2. การบริการงานแผนครอบครัว 3. การบริการตรวจวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของอาหารและผลิตภัณฑ์ 4. การพัฒนาและรับรองมาตรฐาน รพ.ส่งเสริมสุขภาพ 5. การพัฒนาและรับรองมาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 1. การบริการส่งเสริมสุขภาพวัยทอง 2. การบริการส่งสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 3. การให้บริการตรวจวิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค 4. การบริการหญิงตั้งครรภ์ 5. การรับรองมาตรฐานการสร้างเสริมสุขภาพ ”อาหารเมนูชูสุขภาพ” ปี 2551 ปี 2550 1.งานบริการโครงการฟันเทียมพระราชทาน 2.งานบริการโครงการส่งเสริมคนไทยไร้พุงในหน่วยงานภาครัฐ 3.งานบริการการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงระบบรายงานผลการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ 1. งานบริการรับรองมาตรฐานการสร้างเสริมสุขภาพ “ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่” 2. งานบริการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงาน ก.พ.ร.พิจารณาให้ปรับเปลี่ยนงานบริการ 1.งานบริการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์อนามัยที่ 1-12

37 งานบริการที่เสนอรับการประเมินจากสำนักงาน ก.พ.ร.(ต่อ)
ปี 2552 1. งานบริการโครงการฟันเทียมพระราชทาน 2. งานบริการการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงระบบรายงานผลการทดสอบ ทางห้องปฏิบัติการ 3. งานบริการโครงการส่งเสริมคนไทยไร้พุงในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงาน ก.พ.ร.พิจารณา ให้ปรับเปลี่ยนงานบริการ งานบริการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์อนามัยที่ 1-12 งานบริการส่งเสริมสุขภาพใน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 ปี 2553 งานบริการส่งเสริมสุขภาพใน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 ปี 2554 ข้อพิจารณา  ปี 2556 จะเสนองานบริการเรื่องอะไร งานบริการสาธิตส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์อนามัยที่ 1-12 ปี 2555 การรับรองมาตรฐานด้านวิชาการของกรมอนามัย เช่น CFGT น้ำบริโภค เมนูชูสุขภาพ โรงพยาบาลสายใยรักษ์

38 4.4 การพัฒนาองค์กรกรมอนามัยตามแนวทาง PMQA
ข้อเสนอจากผู้บริหารและเจ้าภาพหมวด 1. การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย เมื่อ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ เสนอแนวทางในการพัฒนาระบบราชการ ให้มีการพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยอย่างจริงจัง โดยใช้หลักเกณฑ์/ข้อกำหนดตามมาตรฐานของ PMQA เป็นเครื่องมือ 2. การประชุมหน่วยงานเจ้าภาพหมวด 1-6 เมื่อ 30 กรกฎาคม 2555 กำหนดแนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ.2556 1) ให้เจ้าภาพหมวด 1-หมวด 6 ดำเนินการตามบทบาทหน้าที่ ในส่วนที่ต้องดำเนินการในภาพรวมของกรม และจัดทำรายงานเสนอต่อ กรมอนามัย 2) ส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ ให้เจ้าภาพกำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน 3) วิธีการขับเคลื่อนดำเนินงาน ให้กรมอนามัยแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐขึ้นใหม่แทนชุดเดิม โดยให้เจ้าภาพเสนอรายชื่อคณะทำงานหมวดให้ กพร.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพร้อมกัน

39 ข้อเสนอสำคัญที่ควรดำเนินการในหมวด
การนำองค์การ 1) การนำองค์กรต้องเริ่มก่อน โดยผู้บริหารมีส่วนร่วม กองแผนงานจัดประชุมผู้บริหาร ประกาศปฏิญญาอุบลบุรี นำ “การจัดทำแผนยุทธศาสตร์” 2) ปรับปรุงระบบการสื่อสารภายในกรมอนามัย 3) ให้มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานว่ามีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมและหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือไม่ 4) ให้มีระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากกรม ถึงหน่วยงาน และจากหน่วยงานถึงบุคลากรให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ให้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยแผนงานแผนเงิน แผนพัฒนาบุคลากร และแผนพัฒนาองค์กร โดยหัวหน้าหน่วยงานมีส่วนร่วม 2. ถ่ายทอดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย โดยนำประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมทั้งหมดมากำหนดเป็นตัวชี้วัดของหน่วยงานให้ครอบคลุมเนื้องานของกรม

40 ข้อเสนอสำคัญที่ควรดำเนินการในหมวด
การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1) ให้ทุกหน่วยงานพิจารณางานบริการที่เป็น Core Process ของหน่วยงาน รวมถึงงานบริการที่ตอบสนองลูกค้าภายในกรมด้วย  ทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) และประเมินความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ  งานบริการที่มีอยู่แล้ว ให้ทบทวนและปรับปรุง 2) ให้เจ้าภาพรวบรวมมาตรฐานงานบริการที่ตอบสนองต่อลูกค้าภายนอกและภายในอย่างเป็นระบบและเผยแพร่ 3) ให้พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพของศูนย์อนามัย ให้ได้มาตรฐาน HA ขั้นที่ 2 ภายในปี 2556 โดยมีเป้าหมายที่ ศอ และ 12

41 ข้อเสนอสำคัญที่ควรดำเนินการในหมวด
การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 1) ให้ทุกหน่วยงานวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลตามยุทธศาสตร์หรือพันธกิจของหน่วยงาน รวมถึงแนวโน้มในอนาคต และจัดทำเป็นข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงานในปีต่อไป ให้ทำอย่างน้อยหน่วย ละ 1 เรื่อง 2) ให้จัดทำระบบฐานข้อมูลกลางงานเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3) มีการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลกลาง และระบบ DOC ให้รับรู้และใช้ประโยชน์ 4) ในฐานข้อมูลกลางควรมีการเชื่อมโยงกับข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อให้ทราบผู้ที่เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ เช่น เรื่องส้วมมีใครเก่งหรือศูนย์ฯไหนมีงานเด่นเรื่องอะไร

42 ข้อเสนอสำคัญที่ควรดำเนินการในหมวด
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 1) การพัฒนาบุคลากร ควรเน้นให้เกาะกลุ่มกันอย่างเข้มแข็ง พัฒนาต่อยอด โครงการที่เคยทำมาแล้วและมีผลดี เช่น นสส. และ นสก. ซึ่งมีความหลากหลายของวิชาชีพในแต่ละรุ่น 2) บุคลากรด้าน back office เป็นกลุ่มสำคัญที่ควรพัฒนาศักยภาพด้วย โดยเฉพาะบุคลากรที่ศูนย์อนามัย 3) การศึกษา ดูงานต่างประเทศ เพื่อให้ก้าวล่วงหน้า 1-2 ก้าวเป็นเรื่องสำคัญ กรมควรสนับสนุนทุนการศึกษา / ดูงานต่างประเทศ 4) การพัฒนาบุคลากร ไม่ควรมองแค่ให้มีความก้าวหน้าเพียงอย่างเดียว แต่ควรพัฒนาเพื่อให้บุคลากรสามารถตอบสนองต่อภารกิจของกรมได้ด้วย การจัดการกระบวนการ 1) ควรมีการทบทวนคู่มือปฏิบัติงาน (SOP) ของกรมอนามัยและปรับปรุงให้ทันสมัยครบถ้วนตามภารกิจหลักของแต่ละหน่วยงาน รวมทั้งให้มีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญเพิ่มเติมด้วย 2) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ทราบปัญหาอุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตาม SOP ที่กรมกำหนด

43 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน
ส่วนที่ 1 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 หมวด 2 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่ระดับบุคคล ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) ของกรมอนามัย หมวด 3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจัดทำฐานข้อมูลตามประเด็นยุทธศาสตร์ ให้มีความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย หมวด 4 ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูล (แผน/ผลการดำเนินงานโครงการและการใช้จ่ายงบประมาณกรมอนามัย) ให้มีความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย (KPI 9) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร หมวด 5 ร้อยละของหลักสูตรการอบรมที่ผ่านเกณฑ์ตามหลักประกันคุณภาพการฝึกอบรม (KPI 10) หมวด 6 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนงานสนับสนุนของกรมอนามัย (KPI 8)

44 หมวด 2 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
(Cascading) สู่ระดับบุคคล 1 มีกรอบแนวทางในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับกรมสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล 2 มีแผนภาพ (Flow Chart) แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับกรมสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล 3 มีการสื่อสารและสร้างความเข้าใจให้บุคลากรรับทราบถึงตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายและกรอบการประเมินผล 4 มีการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานและมีการรายงานผลการดำเนินงานตามกรอบแนวทาง /แผนภาพที่กำหนด 5 มีการสรุปบทเรียนการดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามกรอบแนวทางที่กำหนด

45 ส่วนที่ 2 ภาพรวมการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน
หลักการ กรมอนามัยมีเจตนารมณ์ให้ทุกหน่วยงานมีการพัฒนาองค์กรเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ (กลมกลืนไปกับการปฏิบัติงานปกติ) ไม่ควรกำหนดเรื่องนี้เป็นตัวชี้วัด และมีการประเมินผลแบบให้คะแนน เพราะจะทำให้เป็นภาระงานเอกสารและอาจไม่ได้ข้อมูลการพัฒนาองค์กรตามความเป็นจริง แนวทาง : ให้ทุกหน่วยงานดำเนินการพัฒนาองค์กร โดยมีอิสระที่จะเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ ได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน และรายงานผลการดำเนินงานให้กรมอนามัยทราบ การสนับสนุน :  กพร.จะสอบถามเป้าหมายการพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน และความต้องการสนับสนุน เพื่อจัดทำแผนสนองความต้องการ กพร. ร่วมกับเจ้าภาพหมวดจัดกิจกรรม เพื่อให้การสนับสนุน สร้างความเข้มแข็งให้หน่วยงานต่าง ๆ เช่น การทบทวนความรู้ การเยี่ยมชม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกวด ฯลฯ

46 ส่วนที่ 2 ภาพรวมการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน (ต่อ)
การประเมินผล : ให้เขียนรายงานที่แสดงให้เห็นกระบวนการทำงานและผลที่เกิดขึ้น ตามประเด็นการพัฒนาที่หน่วยงานดำเนินการ เช่น การนำองค์กรและการสื่อสาร การวางแผนของหน่วยงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการฐานข้อมูล สารสนเทศและความรู้ การพัฒนาบุคลากร และการสร้างบรรยากาศการทำงาน การจัดการกระบวนการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และให้บริการที่ดีแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น บรรลุเป้าหมายของหน่วยงานและส่งผลต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของกรมอนามัย (จำนวนประเด็นที่รายงาน ขึ้นอยู่กับความพร้อมของหน่วยงาน) ข้อพิจารณา : เห็นด้วยตามที่เสนอหรือไม่

47 วาระ 4.5 ข้อเสนอ กลไกการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปี 2556
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย คณะทำงานพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 1 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 2 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 3 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 4 คณะทำงานหมวด 2 คณะทำงานหมวด 3 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 5 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 6 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 7 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 8 คณะทำงานหมวด 4 คณะทำงานหมวด 5 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 9 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 10 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 11 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 12 คณะทำงานหมวด 6 เครือข่าย กพร. หน่วยงานย่อย

48 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เอกสารหมายเลข 5 (ร่าง) คำสั่งกรมอนามัย ที่ ..../2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ องค์ประกอบของคณะกรรมการ (1) คณะทำงานหมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (2) คณะทำงานหมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (3) คณะทำงานหมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (4) คณะทำงานหมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (5) คณะทำงานหมวด 6 การจัดการกระบวนการ ข้อพิจารณา  ความเหมาะสมขององค์ประกอบคณะทำงาน

49 อำนาจหน้าที่ของคณะทำงาน
เอกสารหมายเลข 5 อำนาจหน้าที่ของคณะทำงาน 1. ทบทวนผลการดำเนินงานที่ดำเนินการแล้ว เทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 2. จัดทำแผนพัฒนาองค์การเพื่อดำเนินการให้ครอบคลุมตามเกณฑ์ และกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่สะท้อนถึงกระบวนการดำเนินงานตามหมวดที่รับผิดชอบ 3. กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผลระดับหน่วยงาน ในส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ 4. ขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยการประสานงาน ผลักดัน ควบคุม กำกับ และติดตามประเมินผล ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมดำเนินการตามบทบาทหน้าที่ 5. จัดทำรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน และรายงานผลสำเร็จของตัวชี้วัดผลลัพธ์ตามหมวดที่รับผิดชอบ เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย รอบ 6 และ 12 เดือน 6. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อพิจารณา  ความเหมาะสมของอำนาจหน้าที่

50 ปฏิทินดำเนินการ เจ้าภาพกำหนดประเด็นที่ให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ
12 ต.ค.-8 พ.ย.55 เสนอประเด็นตัวชี้วัดให้คณะกรรมการ กพร.กรมอนามัยพิจารณาให้ความเห็น 12 พ.ย.55 เจ้าภาพจัดทำ เกณฑ์การประเมิน 26 พ.ย.55 ชี้แจงเกณฑ์การประเมินให้หน่วยงาน 20-21ธ.ค.55 ลงนามคำรับรองฯ ระดับหน่วยงาน ประชุมกรม ม.ค.56 50

51 ข้อพิจารณา : 4.6 การจัดพิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี ระหว่างกรมอนามัยกับหน่วยงานในสังกัด จะจัดให้มีพิธีลงนามคำรับรองฯ หรือไม่ ? ช่วงเวลา : ในการประชุมผู้บริหารกรมอนามัย ประจำเดือนมกราคม 2556 สถานที่ : ห้องประชุมกำธรสุวรรณกิจ กรมอนามัย


ดาวน์โหลด ppt พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2555 ประชุมคณะกรรมการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google