งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

What is the optimum stocking rate ?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "What is the optimum stocking rate ?"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 What is the optimum stocking rate ?
การจัดการแปลงพืชอาหารสัตว์ที่ดี ควรให้มีอัตราสัตว์แทะเล็ม พอดีกับปริมาณของพืชอาหารสัตว์ที่มีอยู่ ทั้งในช่วงฤดูฝน และฤดูแล้ง อัตราสัตว์แทะเล็มที่เหมาะสม เรียกว่า optimum stocking rate อัตราสัตว์แทะเล็ม จะใช้หน่วยเป็น animal unit (A.U.)แทนคำว่า “ ตัว ”

2 หน่วย 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม

3 การคำนวณ optimum stocking rate
พื้นที่ 10 ไร่ ปลูกหญ้ารูซี่ ในช่วงฤดูฝน ถ้าใช้ประโยชน์โดยการปล่อยให้ สัตว์แทะเล็ม จะต้องใช้อัตราสัตว์ กี่ หน่วยจึงจะเหมาะสม การคำนวณ โดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ - ผลผลิตของหญ้ารูซี่ - ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็ม (ตั้งแต่ มิถุนายน-พฤศจิกายน) - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ - 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม

4

5 1. ผลผลิต(น้ำหนักแห้ง)ของหญ้ารูซี่ ในสภาพการแทะเล็ม
ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. มีผลผลิตสะสม ตันต่อไร่ ดังนั้น พื้นที่แปลงหญ้า 10 ไร่ จะได้ผลผลิตสะสมเท่ากับ ตัน (1.175 X 10) หรือ 11,750 กิโลกรัม 2. ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็ม โจทย์ระบุตั้งแต่ ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. รวมเป็นระยะเวลา 183 วัน

6 3. การใช้อาหารในแต่ละวัน และอัตราสัตว์ที่ปล่อย (optimum stocking rate )
ก. การใช้อาหารในแต่ละวัน ระยะเวลาที่แทะเล็มในแปลง 183 วัน ใช้อาหารหยาบ 11,750 กิโลกรัม “ “ “ “ 1 x 11,750 183 = กก. ดังนั้น ปริมาณอาหารหยาบ กก. นี้ จะต้องใช้อัตราสัตว์แทะเล็ม กี่ A.U. ?ต่อวัน

7 ข. อัตราสัตว์ที่ปล่อยแทะเล็ม (optimum stocking rate ) วิธีที่ 1 เมื่อ
- 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่ มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ ดังนั้น โคน้ำหนัก 100 กิโลกรัม ต้องการอาหาร 3 กิโลกรัม โคโตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม(1 A.U. ) “ X 3 100 = กิโลกรัม

8 ใน 1 วัน จะใช้อาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม เลี้ยงโคที่โตเต็มที่
ใน 1 วัน จะใช้อาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม เลี้ยงโคที่โตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม หรืออาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ 1 A.U. (Animal Unit) เมื่ออาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ A.U. “ “ X 1 9 = A.U. หรือน้ำหนักสัตว์ทั้งหมด 2,140.2 กิโลกรัม (7.134 X 300) ดังนั้นจำนวนโคที่ปล่อยทั้งหมด น้ำหนักรวมกันแล้วต้องไม่ เกิน 2,140.2 กิโลกรัม ต่อวัน

9 ข. อัตราสัตว์ที่ปล่อยแทะเล็ม (optimum stocking rate ) วิธีที่ 2 ระยะเวลา 1 วัน สัตว์ 1 A.U. ต้องการอาหารแห้ง 9 กก. ระยะเวลา 183 วัน ” x 183 =1,647 kg. อาหารแห้ง 1,647 kg. ระยะเวลา183 วัน ใช้เลี้ยงสัตว์ได้ 1 A.U , ” ,750 1,647 = 7.13 A.U.


ดาวน์โหลด ppt What is the optimum stocking rate ?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google