งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ วัตถุประสงค์: 1.ให้นักศึกษาทราบถึงพื้นฐานทางพฤกษศาสตร์โดยเฉพาะการจำแนกพืชปลูก 2.ให้นักศึกษาทราบถึงการเจริญเติบโตและกายวิภาคของพืช 3.ให้นักศึกษาทราบถึงสรีรวิทยาพื้นฐานที่สำคัญต่อการสร้างและการใช้พลังงานของพืช 4. ให้นักศึกษาทราบถึงแนวทางการปรับปรุงพันธุ์และการอนุรักษ์พันธุ์พืช

2 หัวข้อคำบรรยาย พืชสำหรับการกสิกรรม
1. คำนำ 2. การจำแนกพืช 3.โครงสร้างและหน้าที่ของพืชปลูก 4. การเจริญเติบโตและกายวิภาคของพืช 5. สรีรวิทยาพื้นฐานที่สำคัญตจ่อการสร้างและการใช้พลังงานของพืช 6. การปรับปรุงพันธุ์และการอนุรักษ์พันธุ์

3 ศักยภาพในการผลิตพืช ความสามารถในการปรับตัวของพืช พืชปลูก สภาพแวดล้อม
พันธุกรรม ความสมบูรณ์ของดิน สรีรวิทยาของพืช ความเหมาะสมของภูมิอากาศ การระบาดของโรคและแมลง การเขตกรรมและการจัดการที่ถูกวิธี

4 พื้นฐานทางพฤกษศาสตร์(botanical background)
โครงสร้างของพืชปลูก การจำแนกพืช การจำแนกพืช(classification of plant) การจำแนกแบบพรรณาลักษณะของพืช การจำแนกทางพฤกษศาสตร์

5 การจำแนกแบบพรรณาลักษณะของพืช
1 จำแนกตามจำนวนปีของปีของชีพจักรพืช พืชอายุปีเดียว(annuals) พืชคาบปี(biennials) พืชอายุหลายปี (perennials) 3 จำแนกตามการผลัดใบ ไม้ผลัดใบ(decidous) ไม้ไม่ผลัดใบหรือเขียวตลอดปี(evergreen) 2 จำแนกตามโครงสร้างและทรงของลำต้น พืชลำต้นอ่อน (herbaceous) ไม้เถา (vines) ไม้พุ่ม (shrubs) ไม้ยืนต้น (trees) 4 จำแนกตามลักษณะการปรับตัวในสภาพภูมิอากาศต่างๆ พืชหรือไม้เมืองหนาว (tropical plants) พืชหรือไม้เมืองร้อน (tropical plants)หรือกึ่งร้อน

6 การจำแนกแบบพรรณา(ต่อ)
5 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับ ธัญพืช(cereal crops) จำพวกถั่วให้เมล็ด (grain legumes) พืชหัว (root crops) พืชน้ำมัน (oil crops) พืชเครื่องดื่ม(beverage crops) พืชเส้นใย (fiber crops) 6 จำแนกตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง พืชคลุมดิน (cover crops) พืชสำหรับเป็นปุ๋ยพืชสด(green manure crops) พืชปลูกเสริมสำรอง (catch crops) พืชที่ช่วยบำรุงรักษาพืชปลูกหลัก (nurse หรือ companion crops)

7 ตัวอย่างการจำแนกข้าวและถั่วเหลือง

8 Glycine max (L.) Merrill genus spiecies 1st 2nd author author ข้าว:
ถั่วเหลือง: Glycine max (L.) Merrill genus spiecies 1st 2nd author author ข้าว: Oryza sativa L. Genus species author = Linaeus กาแฟพันธุ์อาราบิก้า: Coffea arabica L. var. Arabica genus species author botanical variety ยาสูบพันธุ์เวอร์จิเนีย: Nicotiana tabacum L. “Virginia Bright” genus species author agricultural variety or cultivar

9 งานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช
ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1. การรวบรวมและประเมินความแปรปรวนของสายพันธุ์ 2. การผสมพันธุ์เพื่อให้ได้พืชพันธุ์ใหม่ตามที่ต้องกการ 3. การคัดเลือกพันธุ์ 4. การขยายพันธุ์ 5. การอนุรักษ์พันธุ์พืช

10 CO2 + Light reaction basic to all photosynthesis B. Calvin cycle
C. C4 Plants D. C.A.M. plants ภาพแสดงความเป็นไปของกระบวนการสังเคราะห์แสงและวิถีการเปลี่ยนรูปคาร์บอนไดออกไซด์ไปเป็นสารอินทรีย์ของพืช 3 กลุ่มคือ1. พืช C3 (Calvin cycleหรือ Reductive Pentose Phosphate Cycle)2.พืช C4 (C4-Dicarboxylic acid pathway)และพืชพวกแคม (CAM Plants - Crassulacean Acid Metabolism)

11 กายวิภาคเปรียบเทียบใบของพืช C3และพืช C4

12 ลำดับขั้นการจับคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4

13 การเจริญเติบโตและกายวิภาคของพืช
1. การเจริญในระยะเอ็มบริโอ 2. การงอกของเมล็ด 3. การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ในพืช 4. การเติบโตของราก 5. การเติบโตของลำต้น 6. การเจริญเติบโตของใบ 7. สรีรวิทยาพื้นฐานที่สำคัญต่อการสร้างและการใช้พลังงานของพืช

14 สรีรวิทยาพื้นฐานของพืช
1. การสังเคราะห์แสง 2. การหายใจแสง 3. การคายน้ำ 4. การดูดน้ำและการลำเลียงน้ำ 5. การสร้างผลผลิตของพืช


ดาวน์โหลด ppt พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google