ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSongpole Sintawichai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย
นายมนตรี นุชดอนไผ่ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้นำเสนอ : นายสมชาย รัศมี นิสิตปริญญาเอกสาขาการจัดการเทคโนโลยี
2
วัตถุประสงค์ในการวิจัย
เพื่อศึกษากระบวนการผลิตฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับ เครื่องหนังไทย เพื่อศึกษาคุณภาพของฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย เพื่อทดลองใช้เสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทยในงานดนตรีกรรมชิ้นใหม่
3
ขอบเขตของการวิจัย เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องหนัง ๔ ชนิด คือ ตะโพนไทย กลองทัด กลองแขก และโทน-รำมะนา กำหนดคุณสมบัติของนักดนตรีเฉพาะ “คนเครื่องหนัง” นายสุทัศน์ แก้วกระหนก สำนักสวัสดิการสังคม กทม. เป็นผู้บรรเลงตะโพนไทยและกลองแขก นายสมพงษ์ พงษ์พรหม สำนักสวัสดิการสังคม กทม. เป็นผู้บรรเลงกลองทัดและกลองแขกตัวผู้ อาจารย์อานันท์ นาคคง เป็นผู้บรรเลงโทน-รำมะนา วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
4
ขอบเขตการวิจัยต่อ แบ่งลักษณะของเสียงต้นแบบเป็น ๓ หมวดหมู่ ดังนี้
ระบบเสียงเดี่ยวของกลองทุกชนิดอยู่ในหมวดเสียง ONE SHOTS หน้าทับปรบไก่พื้นฐาน หน้าทับสองไม้พื้นฐาน หน้าทับเพลงภาษาปกติ อยู่ในหมวดเสียง Loops เสียงพิเศษอื่น ๆ และลูกเล่นต่าง ๆ จัดให้อยู่ในหมวดเสียง Extras
5
กรอบแนวคิด ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย
ลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรี กระบวนการบันทึกเป็น เสียงอิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการทดลองนำไปใช้ ในการดนตรีกรรมชิ้นใหม่ ที่มา ความสำคัญ บทบาทในการบรรเลง คุณลักษณะและคุณภาพ เครื่องดนตรี สัมมนาการฟังงานทดลอง การนำไปใช้ ระบบเสียงเครื่องหนังไทย กระบวนการสรรหาผู้บรรเลง วิเคราะห์ประเมินผลการนำไปใช้ กระสวนจังหวะ หน้าทับ กระบวนการทางเทคโนโลยี สรุปผลการนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์เสียงอิเล็กทรอนิกส์ แบบฉบับเครื่องหนังไทย ผลสรุปการนำไปใช้ของเสียง อิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับ เครื่องหนังไทย
6
การทบทวนวรรณกรรม การศึกษาธรรมชาติของเสียง (Acoustic of Sound)
เทคโนโลยีการบันทึกเสียง ระบบเสียงดิจิตอล เครื่องหนังไทย ตะโพนไทย กลองทัด กลองแขก โทน-รำมะนา เทคนิคการบรรเลง ระบบฐานข้อมูล
7
วิธีดำเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อสารสนเทศ
การเก็บข้อมูลภาคสนาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ขั้นตอนการบันทึกเสียงตัวอย่างต้นแบบ ขั้นตอนการจัดกระทำข้อมูลเสียงตัวอย่างต้นแบบที่บันทึกได้ ขั้นตอนทดลองนำไปใช้ ขั้นตอนสัมมนาการฟัง สรุปผลและวิเคราะห์ นำเสนอข้อมูล
8
สรุปผลการวิจัย เพื่อศึกษากระบวนการผลิตฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับ เครื่องหนังไทย ได้ผลิตภัณฑ์ฐานข้อมูลในรูปแบบ CD-ROM Sound Samplersให้ชื่อว่า “Traditional Thai Drums Sound Samplers” เพื่อศึกษาคุณภาพของฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย คุณภาพของเสียงที่ได้ ดี สมจริง มีความต่อเนื่อง เพื่อทดลองใช้เสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทยในงานดนตรีกรรมชิ้นใหม่ สามารถนำต้นแบบเสียงอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้งานได้จริง
9
ผลการวิเคราะห์ของผู้นำเสนอ
ประโยชน์ต่อวงการอุตสาหกรรมเพลงไทย ประโยชน์ในการเผยแพร่วัฒนธรรมด้านเครื่องหนังประกอบจังหวะ เกิดคุณค่าเพิ่มทางการศึกษา การพัฒนาต่อยอด มูลค่าทางธุรกิจ เช่นด้านสิทธิบัตรของแบบเสียง หรือฐานข้อมูล การสนับสนุนให้ผู้ผลิตงานเพลงนำเสียงในวัฒนธรรมดนตรีไทยไปใช้ในงานดนตรีกรรม
10
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.