งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน.... 1.โครงการกิ่วคอหมา
2.โครงการแม่ทะลบหลวง 3.โครงการพัฒนาชลประทานชุมชนแม่วาง 4.เปรียบเทียบต้นทุนกิจกรรมย่อย (กลุ่มวิเคราะห์ฯ)

2

3 ความเป็นมาโครงการ.. เขื่อนกิ่วคอหมาความจุ 170 ล้าน ลบ.ม.
 มติ ครม.18 พ.ย.46 เขื่อนกิ่วลมมีความจุ 112 ล้าน ลบ.ม.

4

5 วัตถุประสงค์ เพื่อการเกษตร อุปโภค บริโภค อุตสาหกรรม ประมง
บรรเทาอุทกภัย แหล่งท่องเที่ยว

6 ลักษณะโครงการ เขื่อนดิน ความจุ 170 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน
กว้าง 8 ม. ยาว 500 ม. สูง ม. ความจุ 170 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน วงเงินงบประมาณ 3, ล้านบาท

7 พท.เป้าหมายได้รับน้ำไม่น้อยกว่า 80%
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เพิ่ม พท.ชป.ใหม่90,200 ไร่ พท.เป้าหมายได้รับน้ำไม่น้อยกว่า 80%

8 พื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (ไร่)
เพิ่ม พท.ชป. ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 2556 2557 รวม พื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (ไร่) 5,000 12,000 20,000 19,000 30,200 90,200

9 ประโยชน์จากโครงการ 1.ส่งน้ำให้ พท.ชป.เดิม แหล่งน้ำต้นทุนสำหรับเติมให้เขื่อนกิ่วลม ขยาย พท.การเกษตรหน้าแล้งได้ถึง 30,000 ไร่ 2.ส่งน้ำให้ พท.ชป.เปิดใหม่ 90,200 ไร่ 3.บรรเทาอุทกภัย 4. เพิ่มศักยภาพการผลิตกระแสไฟฟ้า

10 โครงการกิ่วคอหมา พื้นที่ชลประทานกิ่วลมขยาย (กิ่วลม III ) 70,200 ไร่
พื้นที่ชลประทานกิ่วคอหมา 20,000 ไร่ ในเขต อ.แจ้ห่ม โครงการกิ่วคอหมา เขื่อนกิ่วคอหมา พื้นที่ชลประทานกิ่วลมขยาย (กิ่วลม III ) 70,200 ไร่ เขื่อนกิ่วลม

11 สภาพน้ำท่วมในเขต อ.เมือง จ.ลำปาง ปี 2548
เนื่องจากเขื่อนกิ่วลมมีความจุน้อยเพียง 18% ของจำนวนน้ำท่าทั้งหมด เมื่อก่อสร้างเขื่อนกิ่วคอหมาจะสามารถบรรเทาน้ำท่วม ในพื้นที่น้ำท่วมท้ายเขื่อนได้มากขึ้น สภาพน้ำท่วมในเขต อ.เมือง จ.ลำปาง ปี 2548

12 ความก้าวหน้า

13 โครงการแม่ทะลบหลวง บ้านแม่ทะลบ หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทะลบ อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่

14 ความเป็นมา 1. ราษฎร ลว.3 ก.พ.2525 เรียน ฯพณฯ รองนายกฯ ผ่าน สส.เชียงใหม่.. 2. ฯพณฯ รองนายกฯ เรียน ผู้ว่าฯ ลว.19 ก.พ.2525 3. สชป.1 มีหนังสือ กส.0323/519 ลว.23 ก.ค.2525 เรียน ผู้ว่าฯ 4. กรมชลประทาน ร่วมกับ สาธารณรัฐเยอรมัน * ศึกษาความเหมาะสมแล้วเสร็จเมื่อปี 2532 5. ว่าจ้างบริษัทดำเนินการสำรวจ/ออกแบบ เมื่อปี

15 วัตถุประสงค์ เพื่อการเกษตร 9,300 ไร่ อุปโภค บริโภค ประมง
แหล่งท่องเที่ยว

16 ลักษณะโครงการ เขื่อนดิน ความจุ 15.30 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน
กว้าง 9 ม. ยาว 630 ม. สูง ม. ความจุ 15.30 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน วงเงินงบประมาณ 335 ล้านบาท

17 ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรของราษฎรในเขตโครงการประมาณ 9,300 ไร่
ประโยชน์จากโครงการ ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรของราษฎรในเขตโครงการประมาณ 9,300 ไร่

18 - อ่างเก็บน้ำ แล้วเสร็จ 100 % - ระบบส่งน้ำแม่ทะลบหลวง
ความก้าวหน้า - อ่างเก็บน้ำ แล้วเสร็จ 100 % - ระบบส่งน้ำแม่ทะลบหลวง

19 โครงการพัฒนาชลประทานชุมชนแม่วาง
อำเภอสันป่าตอง อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่

20 ความเป็นมา 1.โครงการกระจายการผลิตทางการเกษตรในเขตชลประทานราษฏร์ภาคเหนือ 2.รัฐบาลไทยขอความช่วยเหลือไปยังธนาคารโลก เพื่อสนับสนุนด้านการเงินแก่โครงการพัฒนาชลประทานชุมชน 3.ศึกษาความเหมาะสมโครงการชลประทานชุมชน(แม่วาง) แล้วเสร็จเมื่อ มกราคม 2540 - รัฐบาลญี่ปุ่น - ธนาคารโลก

21 วัตถุประสงค์ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้ใช้น้ำที่มีอยู่เดิม และจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำเพิ่มเติมในลุ่มน้ำของโครงการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและผลตอบแทนต่อหน่วยของน้ำต้นทุน ปรับปรุงและขยายระบบชลประทานในพื้นที่โครงการ 3. สนับสนุนการเพิ่มรายได้จากการเกษตร โดยมุ่งเน้นด้านการกระจายการผลิตและการปลูกพืชแบบประณีต

22 องค์ประกอบโครงการ การปรับปรุงระบบชลประทานราษฎร์เดิม
การสร้างความเข้มแข็งและการก่อตั้งองค์กรผู้ใช้น้ำ สถาบัน/องค์กรที่ให้การสนับสนุนผู้ใช้น้ำ การให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการและการฝึกอบรม

23 วงเงินงบประมาณ ลักษณะโครงการ ฝายทดน้ำ/ระบบส่งน้ำ และอาคารประกอบ
แผนการดำเนินงาน วงเงินงบประมาณ ล้านบาท

24 เป้าหมายโครงการ ฝายทดน้ำ ปรับปรุง 2 แห่ง ระบบชลประทาน 11 แห่ง ปรับปรุง
ฝายทดน้ำเดิม 2 แห่ง

25 ส่งน้ำให้พื้นที่ชลประทานของระบบเหมืองฝายเดิม
ประโยชน์จากโครงการ ส่งน้ำให้พื้นที่ชลประทานของระบบเหมืองฝายเดิม จำนวน 11 ฝาย ประมาณ 45,500 ไร่

26 คำรับรองฯ ปี 53 สชป.1 36 เป้าประสงค์ ตามแผนยุทธศาสตร์ สำนักชลประทาน
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ ที่ถ่ายทอดเป้าหมายจากแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน น้ำหนัก (%) เป้าหมาย/เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 มิติ ก : ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 36 สชป-1. มีปริมาณน้ำเก็บกักและ พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น ชป02: จำนวนพื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (ไร่) * ผลงานร้อย เป้าหมายรวม ,020 .(12,990)....ไร่ 10 80 85 90 95 100 ความหมายของตัวชี้วัด หมายถึง พื้นที่การเกษตรที่ทำการก่อสร้างคลองส่งน้ำและอาคารบังคับน้ำต่างๆ เช่น ฝาย ประตูระบายน้ำ เป็นต้น ทำให้สามารถส่งน้ำจากคลองชลประทานได้ถึงแปลงเพาะปลูกของเกษตรกร จากเดิมที่ต้องอาศัยจากน้ำฝนในการเพาะปลูกพืช การก่อสร้างแต่ละโครงการใช้ระยะเวลา 2-5 ปี หรือ เป็นโครงการที่ดำเนินการต่อเนื่องและยังไม่ได้มีการปิดโครงการ ดังนั้น จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทาน ในเขตพื้นที่โครงการขนาดใหญ่ หรือ โครงการขนาดกลาง ที่ยังมีการดำเนินการก่อสร้างอย่างต่อเนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ ซึ่งเป็นพื้นที่การเกษตรที่สามารถใช้ประโยชน์จากการก่อสร้างในส่วนที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จหรือยังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์แต่มีผลงานก่อสร้างในองค์ประกอบหลักมากกว่า ร้อยละ 80 โดย สำนัก-ชลประทานที่ 1 มีเป้าหมายที่จะดำเนินการก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดกลางต่อเนื่องและสิ้นสุดการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ รวม 2 แห่ง คือ 1.โครงการก่อสร้างระบบส่งน้ำแม่ทะลบหลวง จ.เชียงใหม่ เป้าหมาย , ไร่ 2. โครงการพัฒนาชลประทานชุมชน (แม่วาง) จ.เชียงใหม่ เป้าหมาย , ไร่ เป้าหมาย ปี รวมทั้งสิ้น 12,990 ไร่ (หมายเหตุ ขอกำหนดเป้าหมายพื้นที่ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกรมฯ)

27 ความก้าวหน้าสชป.1 รอบ 4 เดือน

28 เปรียบเทียบต้นทุนกิจกรรมย่อย (กน.ผง.) ปี 51 และ ปี 52
คชจ.กลุ่มงานวิเคราะห์ฯ แยกรายหมวด ปี งปม. 52 รวม 8,248, บาท ไปดูกัน


ดาวน์โหลด ppt ....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google