งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาเซียนคำทักทาย จัดทำโดย ด.ญ.อชิรญา ป้อมสูง ม.1/16 เลขที่ 47

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาเซียนคำทักทาย จัดทำโดย ด.ญ.อชิรญา ป้อมสูง ม.1/16 เลขที่ 47"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาเซียนคำทักทาย จัดทำโดย ด.ญ.อชิรญา ป้อมสูง ม.1/16 เลขที่ 47
ด.ญ.อชิรญา ป้อมสูง ม.1/16 เลขที่ 47 ด.ญ. อริสรา กิ่งพุด ม.1/16 เลขที่ 49 เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษาในพระราชูปถัมภ์

2 คำทักทายประเทศไทย คำทักทายของประเทศไทย คือคำว่า “สวัสดี” ความหมายของคำ "สวัสดี" ได้สะท้อนไปถึงความ ปรารถนาดี เปี่ยมไปด้วยไมตรีจิต เป็นการอวยพร ให้กับผู้ที่เราสนทนา ให้ประสบพบแต่สิ่งที่ดี ซึ่ง เหล่านี้เป็นลักษณะพิเศษในคำทักทายของคนไทย

3 คำทักทายประเทศพม่า คำทักทายของประเทศพม่า คือคำว่า “มิงกาลาบา” ภาษาพม่า  จัดอยู่ในตระกูลภาษา  ทิเบต – พม่า  ภาษา พม่า มีตัวอักษรพม่าซึ่งดัดแปลงมาจากภาษามอญ เป็นภาษาที่มีระดับเสียงวรรณยุกต์ 4 เสียง จัดอยู่ใน ตระกูลภาษาพรามี

4 คำทักทายประเทศลาว คำทักทายของประเทศลาว คือคำว่า “สะบายดี” เป็น ภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไต สำเนียงการออก เสียงคล้ายกับภาษาอีสานของประเทศไทย บางคำ ใกล้เคียง บางคำก็ต่างกันซะจนความหมายผิดเพี้ยน

5 คำทักทายประเทศบรูไน คำทักทายของประเทศบรูไน คือคำว่า “ซาลามัต ดา ตัง” การทักทายจะจับมือกันเบา ๆ

6 คำทักทายประเทศฟิลิปปินส์
คำทักทายของประเทศฟิลิปปินส์ คือคำว่า “กูมุสตา” ประเทศฟิลิปปินส์จะจับมือกัน เพื่อทักทาย และได้รับ วัฒนธรรมมาจากชาวตะวันตก

7 คำทักทายประเทศสิงคโปร์
คำทักทายของประเทศสิงคโปร์ คือคำว่า “หนีห่าว” คำทักทายคำเดียวกับประเทศจีน ซึ่งประเทศสิงคโปร์ได้รับวัฒนธรรมมาจาก ประเทศจีน

8 คำทักทายประเทศเวียดนาม
คำทักทายของประเทศเวียดนาม คือคำว่า “ซินจ่าว” ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาษาทางการของ ประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนาม ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีน และเดิมใช้ อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษา เวียดนามให้เป็น ภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งใน กลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด

9 คำทักทายประเทศมาเลเซีย
คำทักทายของประเทศมาเลเซีย คือคำว่า “ซาลามัต ดาตัง” เป็นการทักทายแบบจับมือ กัน ซึ่งคำทักทายเหมือนกับประเทศบรูไน

10 คำทักทายประเทศอินโดนีเซีย
คำทักทายของประเทศอิโดนีเซีย คือคำว่า “ซาลามัต เชียง” ภาษาที่ใช้มีรากฐานมาจากภาษามลายู เรียกว่าภาษา บาฮาซาอินโดนิเซีย


ดาวน์โหลด ppt อาเซียนคำทักทาย จัดทำโดย ด.ญ.อชิรญา ป้อมสูง ม.1/16 เลขที่ 47

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google