ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
2
การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้น
ใบสรุปในการเข้าสนาม การทำรหัสข้อมูล การสะท้อนความคิด การลงสรุปชั่วคราว
3
การนำเสนอข้อมูล ตารางเปรียบเทียบ เครือข่าย แผนภูมิเหตุการณ์
4
1.การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้น
5
1.1 ใบสรุปการเข้าสนามในแต่ละครั้ง
หลังการเก็บข้อมูลภาคสนามในแต่ละครั้ง พิจารณาว่ามี มโนทัศน์หลัก หัวข้อ(themes) ประเด็นปัญหา คำถามอะไรบ้าง สะท้อนความคิด เพื่อลงสรุปย่อ โดยมุ่งไปที่คำถามหลัก ตอบคำถามแต่ละข้ออย่างสั้นๆเพื่อสรุปรวมเป็นใจความหลัก
6
แนวทางในการสรุป อาจใช้คำถามนำ
การเข้าสนามครั้งนี้มีหัวข้อหลัก หรือประเด็นปัญหาอะไรบ้าง การเก็บข้อมูลครั้งนี้เกี่ยวข้องกับคำถามใดและตัวแปรใดในกรอบการวิจัยขั้นต้น มีเหตุการณ์อะไร มีใครเข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง การเก็บข้อมูลครั้งนี้เกิดข้อสรุปชั่วคราว หรือข้อสันนิษฐานอะไรบ้าง
7
1.2 การทำรหัส (coding) การทำรหัสสามารถทำได้กับ วลี ประโยค หรือย่อหน้าก็ได้ การทำรหัสเพื่อเรียกข้อมูลขึ้นมาหรือใช้เรียบเรียงข้อมูล สะดวกต่อการค้นหา กลุ่มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคำถามวิจัย ข้อสมติฐาน หรือ themes
8
การสร้างรหัส การสร้างรหัสชั่วคราวก่อนลงสนาม การสร้างรหัสหลังลงสนามแล้ว
9
ข้อควรพิจารณาในการลงรหัสและปรับปรุงรหัส
มีรหัสที่เป็นตัวแปรเชิงมโนทัศน์ หรือไม่ ถ้ามีควรมีการนิยามปฏิบัติการ เพื่อที่จะสามารถทำให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และสามารถใช้ได้อย่างคงเส้นคงวาโดยเฉพาะในการทำวิจัยหลายคน
10
การตรวจสอบการลงรหัส ความเที่ยง = จำนวนของความสอดคล้องกัน
ความเที่ยง = จำนวนของความสอดคล้องกัน ผลรวมของจำนวนที่เห็นด้วย+ไม่เห็นด้วย
11
1.3 การทำข้อสรุปชั่วคราว(memoing)
เป็นการเขียนความคิดในเชิงทฤษฎีที่ได้จาการทำรหัสข้อมล และความสัมพันธ์ของรหัสข้อมูลที่ทำอยู่นี้ทำให้ผู้วิจัยเกิดความสนใจขึ้นมา... การสรุปชั่วคราวอาจอยู่ในรูปของประโยค ย่อหน้า หรือเป็นข้อความยาว 2-3 หน้าก็ได้
12
memoning เพื่อกระจ่างในความคิด เมื่อมีความคิดใหม่ผุดขึ้นมา
เพื่อเชื่อมโยงข้อมูล เพื่อชี้ให้เห็นความแตกต่างจากรหัสเดิมที่มีอยู่
13
2.การนำเสนอข้อมูล
14
2.1 แนวทางการศึกษาเหตุการณ์
เลือกเหตุการณ์ทีจะช่วยให้เข้าใจจุดเน้นหลักของการวิจัย แล้วทำการศึกษาประวัติความเป็นมาของเหตุการณ์ และกระบวนการที่นำไปสู่เหตุการณ์นั้น
15
2.2 แผนภูมิบริบท แผนภูมิบริบทในรูปเครือข่าย ทำให้ช่วยดึงประเด็นสำคัญที่จะช่วยให้ผู้วิจัยนำมาวิเคราะห์ ตีความ เป็นการลดทอนข้อมูล ทำให้เรียบเรียงได้ง่ายขึ้น โดยใช้สัญลักษณ์มาประกอบและมีหลักเกณฑ์ในการใส่เครื่องหมาย
16
2.3 ตาราง/เครือข่ายเหตุการณ์
เป็นการนำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นลำดับ ตัดเหตุการณ์ที่ไม่สำคัญออกไป นำเสนอในรูปตารางหรือเครือข่ายเหตุการณ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.