ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Created by Ms. Lampoei Puangmalai
2
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
Sci เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติรอบ ๆ ตัวเรา เพื่อที่จะอธิบายว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร ทำงานอย่างไร โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิด และทฤษฎี
3
การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ
มนุษย์ยังไม่เข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ ทำให้เกิดความกลัว การศึกษา Sci จะช่วยขจัดความกลัวของมนุษย์ มนุษย์อยู่กับธรรมชาติ การศึกษา Sci จะช่วยพัฒนาการดำรงชีวิตมนุษย์ให้ดีขึ้น
4
การบันทึกข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
เริ่มต้นจากความเชื่อ คำบอกเล่า ซึ่งยังไม่เป็น Sci ต่อมาได้มีการบันทึกหาความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนวิเคราะห์หาข้อสรุป ข้อมูลที่ได้จากการบันทึกอย่างซื่อสัตย์ของนักวิทยาศาสตร์รุ่นก่อน ๆ เป็นพื้นฐานสำหรับนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อ ๆ มา ดังนั้น การศึกษาค้นคว้าข้อมูลทาง Sci ต้องบันทึกอย่างตรงไปตรงมา เพื่อเป็นพื้นฐานในการค้นคว้าต่อไป
5
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร ?
ความรู้ทาง Sci ได้มา 2 ทาง คือ ได้จากการสังเกต การบันทึกข้อมูล การทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล สร้างทฤษฎีใหม่โดยอาศัยความรู้พื้นฐานที่ค้นพบมาแล้ว
6
วิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 2 แขนงใหญ่ ๆ คือ
วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ 1.1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1.2 วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
7
นักวิทยาศาสตร์ทำงานอย่างไร ?
นักวิทยาศาสตร์ต้องใช้ทักษะการสำรวจตรวจสอบอย่างสูงที่จะเข้าใจในสิ่งที่สงสัย ทักษะนั้นเราเรียกว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
8
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสังเกต (Observation) การวัด (Measurement) การจำแนกประเภท (Classification) การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Space/space Relationships and Space / time Relationships) การใช้ตัวเลข (Using Numbers) การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing Data and Communication) การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring)
9
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การพยากรณ์ (Predicting) การตั้งสมมติฐาน (Formulation Hypothesis) การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) การกำหนดและควบคุมตัวแปร (Indentifying and Controlling Variables) การทดลอง (Experimenting) การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conclusion)
10
เจตคติทางวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาศาสตร์
ความเป็นผู้สนใจใฝ่รู้ อยากหาคำตอบในสิ่งที่สงสัย ความซื่อสัตย์ รวบรวม บันทึก โดยไม่บิดเบือนข้อมูล ความอดทน มุ่งมั่น แม้จะใช้เวลานานในการหาข้อยุติปัญหา การมีใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ความคิดสร้างสรรค์ มีความสงสัยและกระตือลือร้นที่จะหาคำตอบ ยอมรับเมื่อมีประจักษ์พยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ
11
การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific Method)
การกำหนดปัญหา (Problem) การตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing the Hypothesis) การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) การสรุปผล (Conclusion)
13
http://io. uwinnipeg. ca/~simmons/1115/cm1503/introscience
14
ทำอย่างไรจึงจะเรียนวิทยาศาสตร์ได้ดี
มีความกระตือลือร้นที่จะเรียนรู้ คิดค้นหาวิธีการตอบคำถามหรือข้อสงสัย เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการสังเกต วัดและบันทึกข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา จัดกลุ่มข้อมูลที่สำรวจตรวจสอบได้ นำผลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบไปใช้ในชีวิตจริงได้ ร่วมแสดงความคิดเห็นเมื่อเรียนเป็นกลุ่ม และยอมรับความคิดเห็นของกลุ่ม นำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
15
References สุพจน์ แสงมณี และชานนท์ มูลวรรณ. วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4-6). กรุงเทพฯ : ประสานมิตร, ://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm
16
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.