งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย

2 โครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์ด้านการแปรรูป โรงฆ่าสัตว์ปีก(แห่ง)
ภาค โรงสีข้าว (แห่ง) โรงฆ่าสัตว์ปีก(แห่ง) โรงฆ่าสุกร โรงฆ่าโค-กระบือ ท่าขึ้นปลา กำลังการผลิต (ตัน) เหนือ 5,696 73 480 158 - ตะวันออกเฉียงเหนือ 29,204 165 224 374 กลาง 2,082 373 206 489,281 ใต้ 2,555 159 65 50 835,911 รวม 39,537 770 1,143 788 1,325,192 3.2 แหล่งรวบรวมและกระจายสินค้าเกษตรที่สำคัญ โรงสีข้าว โรงสีข้าวมีอยู่ทุกจังหวัด ยกเว้นจังหวัดภูเก็ต เนื่องจากข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญ โดยส่วนใหญ่เป็นโรงสีของเอกชน และมีจำนวนหนึ่งเป็นโรงสีข้าวของสหกรณ์การเกษตร โรงสีข้าวมีจำนวนมากอยู่ในภาคอีสาน คือ ส่วนใหญ่มีโรงสีข้าวมากกว่า 1,000 แห่ง แต่ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าวขนาดเล็ก โรงสีข้าวขนาดใหญ่ที่ผลิตข้าวเชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่อยู่ในภาคกลางและมีเพียงบางส่วนอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ จังหวัดที่มีกำลังการผลิตของโรงสีข้าวรวมมากที่สุด 3 อันดับแรกของประเทศ คือ สุพรรณบุรี นครสวรรค์ พิจิตร โรงฆ่าสัตว์ปีก จังหวัดที่มีโรงฆ่าสัตว์ปีก (ส่วนใหญ่ คือ ไก่) จำนวนมากอยู่ในภาคกลางและบางจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนใต้ และบางจังหวัดในภาคใต้ มีมากกว่า 20 โรง แต่โรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดใหญ่จะอยู่ในภาคกลาง และจังหวัดนครราชสีมา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้จังหวัดที่มีกำลังการผลิตโรงฆ่าสัตว์ปีกสูงสุด คือ 4 จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี สระบุรี กรุงเทพมหานคร และนครราชสีมา โรงฆ่าสัตว์ใหญ่ (สุกร-โค-กระบือ) โรงฆ่าสุกร และโรงฆ่าโค-กระบือ มีอยู่ในเกือบทุกจังหวัด ยกเว้น 7 จังหวัด ไม่มีโรงฆ่าสุกรเลย และ 6 จังหวัดที่ไม่มีโรงฆ่าสุกร-โค-กระบือเลย โดยมี – จังหวัดที่ไม่มีทั้งโรงฆ่าสุกร และโรงฆ่าโค-กระบือเลย คือ ปัตตานี สมุทรสาคร และนนทบุรี อย่างไรก็ตามโรงฆ่าสัตว์ขนาดใหญ่จะมีอยู่ภาคกลาง ซึ่งเป็นแหล่งเลี้ยงปศุสัตว์ที่สำคัญ ทำให้จังหวัดที่มีกำลังการผลิตโรงฆ่าสุกรสูงสุด คือ 4 จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี นครปฐม ราชบุรี และนครราชสีมา และปริมาณการฆ่าโค-กระบือที่สำคัญอยู่ที่ 3 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าขึ้นปลา (รวมสัตว์น้ำเค็มหรืออาหารทะเลทุกชนิด) ผลผลิตสัตว์น้ำเค็ม ณ ท่าขึ้นเรือของไทยส่วนใหญ่เป็นปลาทะเลที่จับได้ มีสัตว์น้ำเค็มอื่นๆ เช่น กุ้ง หอย เป็นต้น เพียงเล็กน้อยประมาณ 10% ปริมาณผลผลิตสัตว์น้ำเค็มที่นำมาขึ้นท่านั้น ส่วนใหญ่จะขึ้นท่าในจังหวัดภาคใต้ รองลงมา คือ ภาคตะวันออก และภาคกลางส่วนที่ติดฝั่งทะเล เช่น จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งมีตลาดสัตว์น้ำขนาดใหญ่

3 กิจกรรมโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน
S1 S2 S3

4 ข้าว โรงงานอุตสาหกรรมอาหารสุขภาพ ผู้ส่งออกข้าวและผลิตภัณฑ์ โรงงานแปรรูป โรงสี เกษตรกร (ข้าวเปลือก) โรงงานเครื่องดื่ม แอลกฮอล์ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวผลิตข้าวเปลือกจำหน่ายให้แก่ โรงสี/พ่อค้ารวบรวมท้องถิ่น/สถาบันเกษตรกร ส่วนหนึ่งเก็บไว้ทำพันธุ์/บริโภคในครัวเรือน โรงสี สีแปรรูปข้าวเปลือกเป็นข้าวสาร ได้แก่ ข้าวต้น ข้าวหักท่อน และปลายข้าว และผลพลอยได้ คือ รำและแกลบ ข้าวสาร ใช้เพื่อการบริโภคภายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ ข้าวหักท่อนและปลายข้าว ส่วนหนึ่งจำหน่ายให้โรงงานผลิตเป็นผลิตภัณฑ์จากข้าว ใช้บริโภคภายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ ส่วนหนึ่งเข้าโรงงานเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และโรงงานอาหารสัตว์ รำข้าว จำหน่ายให้แก่โรงงานผลิตน้ำมันพืช และโรงงานอาหารสัตว์ - แกลบ จำหน่ายให้แก่โรงงานผลิตพลังงานเชื้อเพลิงและไฟฟ้า ทำถ่าน และปุ๋ย

5 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกร (ผลผลิต) อุตสาหกรรมน้ำมันข้าวโพด ส่งออก
จำหน่ายในประเทศ 3 % พ่อค้ารวบรวม อุตสาหกรรมแป้งข้าวโพด ส่งออก น้ำ ดิน 94 % อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ส่งออก เกษตรกร (ผลผลิต) ฟาร์ม เลี้ยงสัตว์ 100 % 0.50 % สถาบันเกษตรกร ปัจจัย การผลิต เทคโนโลยีการผลิต 1. ผลผลิตข้าวโพด -เกษตรกรผู้ผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จำหน่ายผลผลิต ให้ พ่อค้ารวบรวม สถาบันเกษตรกร และไซโล -พ่อค้ารวบรวม จำหน่ายผลผลิตให้ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ อุตสาหกรรมแป้งข้าวโพด อุตสาหกรรมน้ำมันข้าวโพด และฟาร์มเลี้ยงสัตว์ -สถาบันเกษตรกร จำหน่ายผลผลิตให้ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และฟาร์มเลี้ยงสัตว์ -อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ผลิตอาหารสัตว์จำหน่ายให้ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ และส่งออกต่างประเทศ -อุตสาหกรรมแป้งข้าวโพด และอุตสาหกรรมน้ำมันข้าวโพด แปรรูปจำหน่ายภายในประเทศ และส่งออกต่างประเทศ -ไซโล ส่งออกต่างประเทศ 2. เมล็ดพันธุ์ -บริษัท / ราชการ ผู้จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ขยายให้เกษตรกรเพื่อไปผลิตเมล็ดพันธุ์จำหน่าย แล้วรับซื้อคืนเพื่อจำหน่ายเป็นเมล็ดพันธุ์แก่เกษตรกรใช้เพาะปลูก โดยเมล็ดพันธุ์บางส่วนของบริษัทส่งออก ไปจำหน่ายต่างประเทศ 2.50 % ส่งออก ไซโล เมล็ดพันธุ์จำหน่าย บริษัท ส่งออก เกษตรกร (ทำเมล็ดพันธุ์) เมล็ดพันธุ์ขยาย เมล็ดพันธุ์ขยาย ราชการ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เมล็ดพันธุ์จำหน่าย

6 อ้อยและผลิตภัณฑ์น้ำตาล โรงงานน้ำตาล (หีบน้ำตาล)
รถบรรทุก 6 ล้อ/4 ล้อ พ่อค้าคนกลาง ร้านขายปลีก - ตลาดสด/ ตลาดชุมชน รถบรรทุก ผู้บริโภค ในประเทศ โมเดิร์นเทรด /ห้างสรรพสินค้า/ ซุปเปอร์มาร์เก็ต/ร้านสะดวกซื้อ รถบรรทุก/พ่วง รถบรรทุก/พ่วง รถบรรทุก/พ่วง โรงงานน้ำตาล (หีบน้ำตาล) เกษตรกร คลังสินค้า โรงงานอุตสาหกรรมในประเทศ รถบรรทุก - หัวลากคอนเทนเนอร์ / คอนเทนเนอร์ - รถไฟ สถาบันเกษตรกร/หัวหน้าโควต้า ท่าเรือแหลมฉบัง เกษตรกรนำผลผลิตอ้อยส่งให้กับโรงงานน้ำตาล โดยส่วนใหญ่จะใช้รถบรรทุกและรถพ่วง ในการขนส่ง เมื่อโรงงานนำอ้อยมาผลิตเป็นน้ำตาลได้แล้ว ก็จะเก็บน้ำตาลไว้ในโกดัง/คลังสินค้า โดยหากมีการขนส่งไปเก็บที่โกดังอื่นนอกโรงงานก็จะใช้รถบบรรทุกและรถพ่วงในการขนส่ง น้ำตาลที่ผลิตได้ จะถูกส่งไปขายภายในประเทศและต่างประเทศ ดังนี้ 3.1 น้ำตาลทรายประมาณร้อยละ 25 จะถูกบริโภคภายในประเทศ (โควตา ก.) ประมาณปีละ 2.4 – 2.5 ล้านตัน โดยมีสามช่องทางหลักในการจำหน่าย คือ 1)ขายให้กับพ่อค้าคนกลาง เพื่อจำหน่ายต่อไปยังร้านขายปลีกและร้านค้าในท้องถิ่น เช่น ตลาดสดและตลาดชุมชน 2) จำหน่ายผ่านโมเดิร์นเทรด ห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ต และร้านสะดวกชื้อ และ 3) จำหน่ายให้กับโรงงานอุตสาหกรรมภายในประเทศที่ใช้น้ำตาลเป็นวัตถุดิบส่วนหนึ่งในการผลิต เช่น โรงงานน้ำอัดลม และขนม เป็นต้น 3.2 น้ำตาลส่วนที่เหลือ ประมาณ ร้อยละ 75 (ตามโควตา ข.และโควตา ค.) จะถูกส่งออกไปยังต่างประเทศ โดยใช้การขนส่งทางรถบรรทุกคอนเทนเนอร์ หรือขนส่งโดยรถไฟไปยังท่าเรือแหลมฉบัง หรือใช้การขนส่งทางเรือไปยังเกาะสีชัง อ.ศรีราชา หรือใช้รถบรรทุกขนส่งโดยตรงไปยังประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียง เช่นกัมพูชา สปป.ลาวและพม่า เรือ ผู้ส่งออก ต่างประเทศ ศรีราชา - เกาะสีชัง รถบรรทุก ประเทศเพื่อนบ้าน

7 กลุ่มอุตสาหกรรมกลางน้ำ กลุ่มอุตสาหกรรมปลายน้ำ พ่อค้ารวบรวมท้องถิ่น
ยางพารา กลุ่มอุตสาหกรรมกลางน้ำ กลุ่มอุตสาหกรรมปลายน้ำ พ่อค้ารวบรวมท้องถิ่น เกษตรกร - กลุ่มอุตสาหกรรม ยางแผ่น - กลุ่มอุตสาหกรรม ยางแท่ง - กลุ่มอุตสาหกรรม น้ำยางข้น - กลุ่มอุตสาหกรรม ยางเทียมหรือยาง สังเคราะห์ กลุ่มอุตสาหกรรมยางล้อ กลุ่มผลิตภัณฑ์จาก กระบวนการจุ่ม กลุ่มผลิตภัณฑ์จาก กระบวนการขึ้นรูป - กลุ่มผลิตภัณฑ์จาก กระบวนการอัดฉีด - กลุ่มผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ตลาดกลาง -น้ำยาง -ไม้ยาง ปี 2555 มีพื้นที่ปลูกยางพาราที่สามารถกรีดได้ ล้านไร่ ผลผลิตในรูปของยางแห้ง ปริมาณ 3.78 ล้านต้น โดยภาคเหนือผลิต 4.91% ภาคกลาง 11.90% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18.78% และภาคใต้ 64.41% เกษตรกร ส่งผลผลิตไปยังพ่อค้ารวบรวมท้องถิ่น ตาลดกลาง และสถาบันเกษตรกร เช่น กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ เป็นต้น กลุ่มเหล่านี้จะส่งออกผลผลิตยางแห้ง 90% ซึ่งมีบริษัทผู้ส่งออกจำนวน 163 ราย โดยส่งออกไปประเทศต่าง ๆ ได้แก่ จีน มาเลเซีย ญี่ปุ่น ยุโรป สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ เป็นต้น ที่เหลืออีก 10% ใช้ในประเทศไทย ต่อจากนั้นผลผลิตจะถูกส่งไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมยางกลางน้ำ ประกอบด้วยอุตสาหกรรม 4 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มอุตสาหกรรมยางแผ่น 2.กลุ่มอุตสาหกรรมยางแท่ง 3.กลุ่มอุสาหกรรมยางข้น และ 4.กลุ่มอุตสาหกรรมยางเทียมหรือยางสังเคราะห์ ซึ่งมีทั้งหมดจำนวน 326 โรงงาน โดยกลุ่มอุตสาหกรรมยางกลางน้ำนี้จะผลิตเพื่อส่งออก และส่งไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมปลายน้ำเพื่อแปรรูป กลุ่มอุตสาหกรรมยางปลายน้ำ ประกอบด้วยอุตสาหกรรม 5 กลุ่ม คือ 1.อุตสาหกรรมผลิตยางล้อ 2.กลุ่มผลิตภัณฑ์จากกระบวนการจุ่ม เช่น ถุงมือยาง แถบยางยืด เป็นต้น กลุ่มผลิตภัณฑ์จากกระบวนการขึ้นรูป เช่น ยางรัดของ 4.กลุ่มผลิตภัณฑ์จากกระบวนการอัดฉีด และ 5.กลุ่มผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ซึ่งมีทั้งหมด 806 โรงงาน โดยกลุ่มอุตสาหกรรมยางปลายน้ำนี้จะผลิตใช้ทั้งในประเทศ และส่งออก สถาบันเกษตรกร -กลุ่มเกษตรกร -สหกรณ์ -อื่น ๆ ใช้ในประเทศ ส่งออก ส่งออก

8 ลำไย เกษตรกร

9

10 จบการนำเสนอ ค่ะ Thank you


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google