งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552

2 เป็นโรคพันธุกรรมที่มีอุบัติการสูงที่สุดในโลก
ความสำคัญ เป็นโรคพันธุกรรมที่มีอุบัติการสูงที่สุดในโลก

3 Darwin's Theory of Evolution
On the Origin of the Species

4 คำจำกัดความของธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
คือ กลุ่มโรคพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์โกลบิน

5

6

7

8

9

10

11 การสร้างสายโกลบินจะถูกควบคุมโดยยีน 2 กลุ่ม คือ ยีนกลุ่มแอลฟา (a-globin gene cluster) 16 และ ยีนกลุ่มบีตา (b-globin gene cluster) 11

12 Adult Hb a2b2 Hb A 97% a2d2 Hb A2 2.5% a2g2 Hb F 1%

13 แอลฟาธาลัสซีเมีย a-thalassemia 1 2. a-thalassemia 2
หรือแอลฟาศูนย์ธาลัสซีเมีย (ao-thalassemia) 2. a-thalassemia 2 หรือ แอลฟาบวกธาลัสซีเมีย (a+-thalassemia)

14 a-thalassemia Genotype Normal aa/aa a-thal 2 trait -a/aa
HbH disease / HbH disease with Hb CS --/-a HbBart's Hydrop fetalis (HbBart's = g4) --/--

15 เบต้าธาลัสซีเมีย 1. b0-thalassemia**ร้อยละ 70 2.b+-thalassemia

16 b-thalassemia trait b0/bA, b+/ bA
Homozygous b-thalassemia b0/b0, b+/ b+ b-thalassemia/Hb E disease b-thal/Hb E (b0/bE, b+/bE)

17 Abnormal hemoglobin Hb E trait (bE/bA) Hb CS trait (acsa/aa)
Homozygous Hb E (bE/bE) Homozygous Hb CS (acsa/acsa) เป็นโรคhemolytic anemia ชนิดไม่รุนแรง มักมีม้ามโตร่วมด้วย ลักษณะเฉพาะคือRbc มี Basophilic stippling

18 ภาวะ Double heterozygosity

19 อุบัติการณ์ในประเทศไทย
ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน a-thalassemia 1 trait 20% 30% 5.5% a-thalassemia 2 trait b-thalassemia trait 2.6% 5.9% 2.4% Hb E trait 15% 6% 25-40% Hb CS 1-11%

20 พาหะในประเทศไทย a-thalassemia 1 trait a-thalassemia 2 trait Hb CS
เปอร์เซนต์/ประชากร a-thalassemia 1 trait 5 a-thalassemia 2 trait 16 Hb CS 4 b-thalassemia trait Hb E trait (AE),EE 13

21 จำนวนผู้ป่วยจากการคาดคะเน
โรค คู่สมรสที่เสี่ยง ผู้ป่วยใหม่ ผู้ป่วยที่ยังมีชีวิต Hb H disease 28,000 7,000 420,000 Hb Bart’s 5,000 1,250 b-thalassemia / Hb E 13,000 3,250 97,500 Homozygous b-thalassemia 2,500 625 6,250 รวม 48,500 12,125 523,750

22 ลักษณะทางคลินิก Homozygous ภาวะหรือโรค genotype ลักษณะทางคลินิก
การตรวจเลือด a-thal 2 trait -a/aa acsa/aa ไม่มีอาการ ไม่มีโลหิตจาง MCV ปกติ Hb A2,A a-thal 1 trait --/aa -acs/aa ไม่มีโลหิตจางหรือมีเล็กน้อย MCV Homozygous a-thal 2 -a/-a HbH disease --/-a --/acsa ซีดเล็กน้อยถึงปานกลาง Rbcถูกทำลายเวลามีไข้ Hb A,H,Bart’s HbBart's --/-- ตายเมื่อแรกเกิด Hb Bart’s

23

24 Homozygous b-thalassemia b-thalassemia/Hb E disease
ลักษณะทางคลินิก ภาวะหรือโรค b-thalassemia trait Homozygous b-thalassemia b-thalassemia/Hb E disease ลักษณะทางคลินิก No sign&symptom โลหิตจางรุนแรง,การเจริญไม่สมอายุ,กระดูกบาง,ตับม้ามโต โลหิตจางปานกลางถึงรุนแรงการเจริญไม่สมอายุ กระดูกบาง ตับม้ามโต Hb typing A2 ,A (A2>3.5%) F (b0/b0) A,F(b+/ b+, b+/ b0) E,F (b0/Hb E) A,E,F(b+/ Hb E)

25

26 การวินิจฉัย

27 Complete blood count

28

29

30 HbH disease Homozygous Hb CS

31 วัดดัชนีเม็ดเลือดแดง MCV
DCIP dichlorophenol-indophenol precipitation test OF One-tube osmotic fragility test Hemoglobin typing : electrophoresis การวัดปริมาณ Hb แต่ละชนิด การวิเคราะห์ DNA polymerase chain reaction, PCR

32 Hb E Hb E trait Homozygous Hb E Hb E trait แนวทางในการตรวจกรอง
MCV : mean corpuscular volume DCIP : dichlorophenol-indophenol precipitation test DCIP positive Hb E MCV< 80 MCV> 80 Hb E trait Homozygous Hb E b-thalassemia / Hb E Hb E trait

33 a-thalassemia 2 trait ไม่สามารถวินิจฉัยได้ด้วยการตรวจกรอง
MCV< 80 Hb A2 >3.5% Hb A2 น้อยกว่าหรือเท่ากับปกติ b-thalassemia trait a-thalassemia 1 trait Homozygous a-thalassemia 2 a-thalassemia 2 trait ไม่สามารถวินิจฉัยได้ด้วยการตรวจกรอง

34 a-thalassemia b-thalassemia Hb Bart’s Hb H Hb A2 >3.5% Hb F Hb E
Hb CS Hb CS

35 เกณฑ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยพาหะธาลัสซีเมีย
 เกณฑ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยพาหะธาลัสซีเมีย a-thal 1 trait* b-thal trait Hb E trait Hb H disease Hb conc. (g/dl) Low or normal 7-11 MCV (fl) < 80 MCHC (pg) < 28 OF (%) < 85 < 85 or normal DCIP negative positive RBC morphology Hypo, Micro Poikilo , Aniso Poikilo, Aniso, Target Hypo,Micro , Target Hb type AA2 AE AHA2 Hb A2 (%) < 3.5 > 3.5 15-30 Definite Diagnosis DNA analysis % Hb A2 Hb E Hb H

36

37

38 - การปลูกถ่ายไขกระดูก b-thal/b-thal Stem cell จากเลือดสายสะดือทารก
การรักษา 1.การรักษาทั่วไป 2.การรักษาเฉพาะ การให้เลือด Hb H, b0/bE การตัดม้าม - การปลูกถ่ายไขกระดูก b-thal/b-thal Stem cell จากเลือดสายสะดือทารก การเปลี่ยนยีน 3.ภาวะแทรกซ้อน จากโรค โลหิตจาง,นิ่วถุงน้ำดี,ภาวะเหล็กเกิน,กระดูกเปราะ,ติดเชื้อ,หัวใจ จากการรักษา ให้เลือดมาก,ตัดม้าม,ยาขับเหล็ก

39

40

41 การให้คำปรึกษา genetic counseling
สอบถามปัญหา การวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง บันทึกประวัติครอบครัวเป็นพงศาวลี (Pedigree) การประเมินความเสี่ยง - ประเมิน genotpye ของพ่อและแม่ - ทำแผนภูมิโครโมโซม (Chromosome diagram) หรือ ตาราง Punnett(Punnett square)

42

43

44 1 2 3 4 1 2 3 4 1 3 1 4 2 3 2 4

45 a-thal 1 trait a-thal 1 trait --/aa --/aa Chromosome diagram

46 a-thal 1 trait a-thal 2 trait -a/aa --/aa Chromosome diagram

47 ทดสอบ Hb E trait bA bE bE bE bA bE bE Hb E trait bA bA bE bA bA

48 ที่มีอัตราเสี่ยงในการมีลูกเป็นโรคชนิดที่รุนแรง
ทางเลือกของคู่สมรส ที่มีอัตราเสี่ยงในการมีลูกเป็นโรคชนิดที่รุนแรง

49

50

51

52 Preimplantation

53


ดาวน์โหลด ppt THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google