ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 03762491 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ Research Methods in Business เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ 2 : 23 พ.ย. 54

2 ศาสตร์กับการวิจัย Sciences and Research

3 เหตุผลการแสวงหาความรู้
Rational of Acquiring Knowledge มนุษย์ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ ความรู้และความจริงที่เกิดขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงได้ มนุษย์มักมีปัญหาตลอดเวลา เพราะมีประสบการณ์ใหม่ๆ ไม่ตอบสนองความต้องการ ไม่สามารถอธิบายหรือบอกสิ่งที่ต้องการรู้ การสังเกตุสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัว มนุษย์มีความอยากรู้ อยากเห็นและต้องการใหม่เสมอ

4 ระดับความรู้ (Level of Knowledge) วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / วิจัย
Wisdom ปัญญา ประมวลทฤษฎี & ประสบการณ์ กฎ/ทฤษฎี Law/Theory สรุป / สังเคราะห์ / วิจัย ความรู้ Knowledge วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / วิจัย ข่าวสาร Information จัดระบบ / ประมวล ข้อมูล Raw Data ข้อมูลดิบ

5 ลักษณะของศาสตร์ (Science)
ศาสตร์ :“ วิธีการวิเคราะห์ที่เป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผลและเป็นวัตถุวิสัย ” จุดประสงค์ศาสตร์ - บรรยาย (Descriptive) - อธิบาย (Explanatory) - ทำนาย (Predictive) ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น/สังเกต วิธีการวิเคราะห์ - เป็นระบบ (Systematic) - เป็นเหตุเป็นผล (Logical) - เป็นวัตถุวิสัย (Objective) เพื่อ ระบบวิชาความรู้/องค์ความรู้ เนื้อหาวิชา (Content) วิธีการ (Method)

6 ศาสตร์ที่ว่าด้วยสาระเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตและ
สาขาของศาสตร์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) ศาสตร์ที่ว่าด้วยสาระเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตและ สิ่งไม่มีชีวิต * วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Sciences) เช่น เคมี ฟิสิกส์ ธรณีวิทยา วิศวกรรม ปฐพีวิทยา * วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Sciences) เช่น การเกษตร ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตววิทยา ชีววิทยา

7 ศาสตร์ที่ว่าด้วยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์
สาขาของศาสตร์ สังคมศาสตร์ (Social Sciences) ศาสตร์ที่ว่าด้วยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ หรือปรากฏการณ์ทางสังคม ซึ่งจะมีการเกิดขึ้นและการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา Encyclopaedia of Social Sciences แบ่งเป็น * สังคมศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Social Sciences) * กึ่งสังคมศาสตร์ (Semi Social Sciences) * ศาสตร์เกี่ยวกับสังคมศาสตร์ (Sciences with Social Implication)

8 วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
การไต่ถามผู้รู้ (Authority) - ผู้เชี่ยวชาญ (Scholar) - ผู้ชำนาญการ (Expert) การใช้ประสบการณ์ (Experience) อาศัยประสบการณ์ที่ผ่านมาและรวบรวมมาใช้ใน การแก้ปัญหาหรือการลองผิด/ลองถูก (Trial and Error) สรุปเป็นข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่

9 วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
การอนุมาน (Deductive Method/ Syllogism/ Deductive Logic/ Inside-out Method) Aristotle นำวิธีการมาค้นหาความรู้/ข้อเท็จจริง โดยใช้ เหตุผล ด้วยการอ้างข้อเท็จจริงที่พบแล้วมาสรุปเป็นข้อเท็จ จริงใหม่ /ความรู้ใหม่ ข้อบกพร่อง : - ข้อสรุป/ข้อเท็จจริงที่ได้อาจไม่เป็นความจริง/สรุปได้ไม่ ชัดเจน - ข้อสรุปหรือข้อเท็จจริงที่ได้ไม่ใช่ความรู้ใหม่

10 วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
การอุปมาน (Inductive Method) Francis Bacon เสนอให้มีการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ /ข้อเท็จจริงใหม่ในลักษณะเก็บรวบรวมข้อมูล/ข้อเท็จจริง ย่อยๆ จำแนกประเภทตามลักษณะ หาความสัมพันธ์ แปล ความหมายและสรุป : - การอุปมานแบบสมบูรณ์ (Perfect Inductive Method) เก็บรวมรวมข้อเท็จจริงย่อยครบทุกหน่วยประชากร - การอุปมานแบบไม่สมบูรณ์ (Imperfect Inductive Method)เก็บรวมรวมข้อเท็จจริงย่อยจากตัวอย่างบางส่วน ประชากร

11 วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) Charles Darwin เป็นผู้นำค้นคว้าวิธีการมาใช้ศึกษาหา ข้อเท็จจริงและความรู้ใหม่ โดยอาศัยใช้วิธีการ : - Deductive Method - Inductive Method

12 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
การตรวจสอบและนิยามปัญหา Identification and Definition of the Problem การตั้งสมมติฐาน Formulation of Hypothesis การรวบรวมข้อมูล จัดระเบียบและการวิเคราะห์ข้อมูล Collection Organization and Analysis of Data การสรุป Formulation of Conclusion การยืนยัน ปฏิเสธ หรือปรับสมมติฐาน Verification Rejection or Modification of Hypothesis

13 รูปแบบการสร้างทฤษฎีแห่งวิทยาศาสตร์
Deductive Theory Building Functional Theory Building ทฤษฎี (Theories) INDUCTIVE LOGIC EMPIRICAL BASED DEDUCTIVE LOGIC THEORY BASED การสรุปจากข้อเท็จจริง (Empirical generalization) สมมติฐาน (Hypothesis) Inductive Theory building Model based Theory Building การสังเกต/ เก็บมูล (Observation)

14 ขั้นตอนในกระบวนการทำวิจัย (Steps of Research Process)
เลือกหัวข้อ (choose topic) ตั้งคำถามในการวิจัย (focus research question) บอกกล่าวคนอื่นๆ (inform others) ออกแบบการวิจัย (design study) ตีความข้อมูล (interpret data) วิเคราะห์ข้อมูล (analyze data) เก็บรวบรวมข้อมูล (collect data)

15 วงล้อการวิจัย (The Research Wheel)
การกลั่นกรองและคำถามใหม่ (Refinement and new question) ความคิด (idea) เอกสาร (Literature) การเผยแพร่ (Dissemination) ทฤษฎี (theory) การอนุมาน (Deduction) ผลและข้อค้นพบ (Results and findings) สมมติฐาน (Hypothesis) นิยามและการวัด (Operational definition and measurement) การวิเคราะห์ (Analysis) การจัดการข้อมูล (Data organization) แบบแผนการวิจัย (Research design) การเก็บข้อมูล (Data collection)

16 ลำดับขั้นตอนการวิจัย
(The Research Sequence) ระบุสาขาหัวข้อกว้างๆ (identify boardarea) เลือกหัวเรื่องที่จะทำ (select topic) ตัดสินใจเลือกวิธีการที่จะใช้ (decide approach) กำหนดแผนการวิจัย (formulate plan) เก็บรวบรวมข้อมูล (collect information) วิเคราะห์ข้อมูล (analyze data) เสนอผลการวิจัยที่ค้นพบ (present findings)


ดาวน์โหลด ppt ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google