งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้งานคอนโทรลเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้งานคอนโทรลเบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้งานคอนโทรลเบื้องต้น
Chapter 9 การใช้งานคอนโทรลเบื้องต้น

2 การใช้งานคอนโทรลใน VB 2010
Common Controls Containers

3 การแบ่งกลุ่มคอนโทรลเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน
การเพิ่มคอนโทรลเข้ามาภายหลัง อาจจะมาจากการสร้างคอนโทรลใช้เอง หรือมาจากผู้ผลิตซอฟต์แวร์อื่น ๆ นำมาใช้กับ VB เข้ามาใน Toolbox โดยการ คลิกขวาบน Toolbox เลือกคำสั่ง Add Tab ตั้งชื่อแท็บใหม่ แล้วคลิกขวาที่แท็บใหม่เลือกคำสั่ง Choose Items…จะปรากฏหน้าต่าง Choose Toolbox Items ขึ้นมามี 6 แท็บได้แก่ .NET Framework Components COM Components WPF Components System.Activities Components System.Workflow Components Siverlight Components มีต่อ->

4 การแบ่งกลุ่มคอนโทรลเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน
เลือกคอนโทรลในกลุ่มที่ต้องการแล้วกด OK คอนโทรลที่ต้องการก็จะไปปรากฏบนกล่องเครื่องมือที่สร้างใหม่แล้ว

5 คอนโทรล Label : แถบแสดงข้อความ
Label เป็นแถบอักษร หรือป้ายตัวอักษรที่ใช้กำหนดข้อความลงไปได้ใช้สำหรับอ่านข้อความในขณะใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อความได้ มีพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญของ Label ได้แก่ Text เป็นข้อความที่จะแสดงในแถบตัวอักษร TextAlign เป็นการจัดวางแนวของข้อความ AutoSize หากกำหนดเป็น True ทำให้ Label เปลี่ยนขนาดได้ตามความยาวของตัวอักษร BorderStyle รูปแบบของเส้นขอบ Font รูปแบบฟอนต์ที่ใช้แสดงข้อความ Image รูปภาพที่จะแสดงใน Label ForeColor สีของตัวอักษรที่แสดงข้อความ BackColor สีของพื้นหลัง UseMnemonic หากกำหนดเป็น True คือตัวอักษรหลักเครื่องหมาย & จะมีกาขีดเส้นใต้เพื่อใช้เป็นคีย์ลัด

6 คอนโทรล LinkLabel : แถบข้อความไฮเปอร์ลิงค์
LinkArea กำหนดส่วนที่จะทำเป็นลิงค์โดยกำหนดจุดเริ่มต้นและความยาวข้อความที่เป็นลิงค์ได้ ไม่จำเป็นต้องทั้งหมดในข้อความ LinkColor เป็นสีของตัวอักษรที่แสดงลิงค์ (ปกติเป็นสีน้ำเงิน) VisitedColor เป็นสีที่แสดงว่าเคยถูกคลิกมาก่อน (ปกติเป็นสีม่วง) ForeColor เป็นสีของอักษรที่แสดงข้อความที่ไม่ใช่ลิงค์ (ปกติเป็นสีดำ) อีเวนต์สำคัญของ LinkLabel LinkClicked เป็นอีเวนต์ที่เกิดขึ้นเมื่อคลิกที่ข้อความส่วนที่เป็นลิงค์โดยต้องเขียนโค้ดเพื่อจัดการ Click เป็นอีเวนต์ที่เกิดขึ้นเมื่อคลิกที่ข้อความส่วนที่ไม่เป็นลิงค์ (กำหนดโค้ดเพิ่มเติมเอง)

7 คอนโทรล Button : ปุ่มคำสั่ง
คอนโทรลที่ใช้สร้างปุ่มกด สามารถเขียนคำสั่งในอีเวนต์ Click พร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญ ได้แก่ Text กำหนดข้อความบนปุ่ม TextAlign การจัดวางแนวของข้อความบนปุ่ม AutoSize กำหนดเป็น True ขนาดของปุ่มจะถูกปรับขยายอัตโนมัติให้แสดงข้อความหรือรูปภาพได้พอดี Image เป็นรูปที่กำหนดให้กับปุ่ม ImageAlign การจัดวางตำแหน่งรูปบนปุ่ม Cursor การกำหนดรูปแบบเคอร์เซอร์ของเมาส์ เมื่อเลื่อนมาวางเหนือคอนโทรล FlatStyle ลักษณะการแสดงผล ปกติเป็น Standard คือปุ่มทั่วไป , Popup คือเมื่อวางเมาส์เหนือคอนโทรลจึงจะนูนขึ้นมา เมธอดทีสำคัญของ Button Focus เป็นการกำหนดให้ปุ่มนั้นถูก Focus (พร้อมรับการกดปุ่ม Enter)

8 คอนโทรล TextBox : กรอบข้อความ
คอนโทรลที่ใช้ในการแสดงข้อความ หรือกรอกข้อความเข้าไป สามารถแสดงข้อความบรรทัดเดียวหรือหลายบรรทัดได้ กำหนดให้ผู้ใช้สามารถแก้ไข เพิ่มเติมได้หรือไม่ ก็ได้ พร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญ ได้แก่ Text เป็นข้อความที่เรากำหนดให้แสดง ReadOnly กำหนดว่า Textbox สามารถแก้ไขข้อความได้หรือไม่ ปกติกำหนดเป็น False คือยอมให้แก้ไขได้ ForeColor สีของตัวอักษรที่แสดงข้อความ BackColor สีของพื้นหลัง MultiLine กำหนดบรรทัดในกล่องข้อความว่าให้แสดงบรรทัดเดียวหรือมากกว่านั้น MaxLength กำหนดความยาวอักษรทียอมให้กรอกได้ (ห้ามเกิน 32,767 ตัวอักษร) Wordwrap การกำหนดให้ตัดข้อความให้เหลือพอที่จะแสดง

9 คอนโทรล TextBox : กรอบข้อความ (ต่อ)
CharacterCasing กำหนดว่าจะให้แปลงข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ หรือพิมพ์เล็กทั้งหมด หรือไม่ (ปกติไม่ได้ให้แปลง) PasswordChar กำหนดรูปแบบอักษรที่แสดงเป็นเครื่องหมายในการป้อนรหัสผ่าน ปกติเป็น ดอกจัน * Line เก็บข้อความในแต่ละบรรทัด ในลักษณะอาร์เรย์ สามารถกำหนดข้อความให้กับแต่ละบรรทัดได้ทั้งช่วง Design Time และ Run Time พร็อพเพอร์ตี้นี้จะอ่านค่าได้อย่างเดียว CanUndo เป็นการอนุญาตให้ Undo ได้หลังจากแก้ไขข้อความ SelectText เป็นข้อความที่ได้จากการคลิกลากแถบเลือกข้อความ SelectionStart เป็นตำแหน่งเริ่มต้นที่ได้จากการคลิกลากแถบเลือกข้อความ SelectionLength เป็นความยาวของตัวอักษรที่ได้จากการคลิกลากแถบเลือกข้อความ Scrollbar การกำหนดให้มีแถบเลื่อนหรือไม่ เมื่อความยาวเกินกว่าขนาด Textbox

10 คอนโทรล TextBox : กรอบข้อความ (ต่อ)
เมธอดที่สำคัญ Clear เคลียร์ข้อความใน TextBox Undo นำข้อความก่อนการแก้ไขล่าสุดกลับมาแสดงใน TextBox อีกครั้ง อีเวนต์ที่สำคัญ TextChanged เป็นอีเวนต์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อความใน TextBox เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

11 คอนโทรล RadioButton : ตัวเลือกที่เลือกได้เพียงตัวเดียว
Appearance รูปแบบของปุ่ม Text เป็นข้อความที่เรากำหนดให้ RadioButton Checked ถ้าถูกคลิกเลือกจะมีค่าเป็น True ถ้าไม่คลิกมีค่าเป็น False TextAlign การจัดวางแนวของข้อความที่แสดงว่าจะอยู่ซ้ายหรือขวาของช่องที่ใช้เลือก CheckAlign เป็นแนวของปุ่มที่อยู่ในคอนโทรล FlatStyle ลักษณะการแสดงผล ปกติเป็น Standard คือปุ่มทั่วไป , Popup คือเมื่อวางเมาส์เหนือคอนโทรลจึงจะนูนขึ้นมาเหมือนปุ่มทั่วไป

12 คอนโทรล CheckBox : ตัวเลือกที่เลือกได้มากกว่าหนึ่งตัว
คอนโทรลที่ใช้สร้างตัวเลือกได้หลายตัวเลือกในครั้งเดียวโดยการคลิกที่ตัวเลือกที่ต้องการหรือไม่เลือกก็ได้ พร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญ ได้แก่ Text เป็นข้อความที่เรากำหนดให้ CheckBox Checked ถ้าถูกคลิกเลือกจะมีค่าเป็น True ถ้าไม่คลิกมีค่าเป็น False CheckState เป็นสถานะที่แสดงว่าถูกเลือกหรือไม่ TextAlign การจัดวางแนวของข้อความที่แสดงว่าจะอยู่ซ้ายหรือขวาของช่องที่ใช้เลือก CheckAlign เป็นแนวของปุ่มที่อยู่ในคอนโทรล FlatStyle ลักษณะการแสดงผล ปกติเป็น Standard คือปุ่มทั่วไป , Popup คือเมื่อวางเมาส์เหนือคอนโทรลจึงจะนูนขึ้นมาเหมือนปุ่มทั่วไป

13 คอนโทรล ListBox : รายการข้อมูล
คอนโทรลที่เป็นรายการข้อมูลที่พร้อมให้เลือกจากตัวเลือกที่มีอยู่ภายใน ซึ่งสามารถกำหนดได้ว่าให้เลือกเพียงตัวเดียวหรือเลือกพร้อมกันหลายตัว พร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญ ได้แก่ Sorted เป็นการเรียงลำดับใน ListBox MultiColumn เป็นการกำหนดว่าจะให้แสดงผลมากกว่าหนึ่งคอลัมน์หรือไม่ ColumnWidth เป็นการกำหนดความกว้างคอลัมน์ในการแสดงผล ScrollAlwaysVisible จะกำหนดว่าต้องแสดงแถบเลื่อนตลอดเวลาหรือไม่ SelectionMode จะกำหนดว่าจะสามารถเลือกข้อมูลได้มากกว่า 1 ข้อมูลต่อครั้งหรือไม่มี 4 รูปแบบ SelectedItem เป็นการรีเทิร์นค่าที่ได้จากการเลือก SelectedValue เป็นการรีเทิร์นค่าอินเด็กซ์ของตัวที่ถูกเลือก Items เป็นคอลเล็คชันที่ใช้กำหนดข้อมูลเข้าไปใน ListBox

14 คอนโทรล ListBox : รายการข้อมูล (ต่อ)
Add เป็นการเพิ่มข้อมูลให้กับ ListBox โดยเพิ่มในลักษณะต่อท้าย Insert เป็นการแทรกข้อมูลให้กับ ListBox ณ Index ที่เราระบุ RemoveAt เป็นการลบข้อมูลออกจากรายการข้อมูล โดยต้องระบุ Index ที่ต้องการ Clear เป็นการลบข้อมูลทุกตัวออกจากรายการข้อมูล ClearSelected เป็นการเคลียร์ข้อมูลที่เคยถูกเลือกไว้ อีเวนต์ที่สำคัญของ ListBox Click เป็นอีเวนต์ที่เกิดขึ้นเมื่อคลิกที่ ListBox เพื่อเลือกข้อมูลจากรายการข้อมูล

15 คอนโทรล CheckedListBox : รายการข้อมูลแบบเลือกได้หลายตัว
คอนโทรลที่จับเอา CheckBox ไปไว้ใน ListBox ทำให้สามารถเลือกตัวเลือกหลาย ๆ ตัว ประหยัดพื้นที่ในการแสดงผลและยืดหยุ่นในการใช้งานกว่าเดิม พร็อพเพอร์ตี้ที่ใช้เหมือนกับของ ListBox แต่มีที่เพิ่มเติมพิเศษ จาก ListBox ได้แก่ ThreeDCheckBoxes เป็นการเรียงลำดับใน ListBox CheckOnClick เป็นการระบุทุกครั้งที่คลิกที่ช่องสี่เหลี่ยม หรือที่ข้อความให้เลือกทันที (เพราะปกติถ้าจะเลือกต้องคลิกที่ช่องสี่เหลี่ยมเท่านั้น)

16 คอนโทรล ComboBox : TextBox+ListBox
DropDownStyle เป็นรูปแบบการแสดงข้อมูล มี 3 แบบ MaxDropDownItem เป็นการกำหนดจำนวนรายการที่แสดงเมื่อคลิกเลือกที่ ComboBox MaxLength เป็นการกำหนดความยาวตัวอักษรที่จะป้อนได้ Sorted เป็นการเรียงลำดับให้กับข้อมูลใน ComboBox SelectedItem เป็นการรีเทิร์นค่าที่ได้จากการเลือก SelectedValue เป็นการรีเทิร์นค่าอินเด็กซ์ของตัวที่ถูกเลือก Items เป็นคอลเล็กชัน ที่ใช้กำหนดข้อมูลเข้าไปใน ComboBox หรืออ่านข้อมูลจาก ComboBox ตามที่เราระบุ Index

17 คอนโทรล ComboBox : TextBox+ListBox (ต่อ)
Add เพิ่มข้อมูลให้กับ ComboBox ในลักษณะต่อท้าย Insert เป็นการแทรกข้อมูลให้กับ ComboBox ณ Index ที่เราระบุ RemoveAt เป็นการลบข้อมูลออกจาก ComboBox โดยต้องระบุ Index ที่ต้องการ Clear เป็นการลบข้อมูลทุกตัวออกจาก ComboBox อีเวนต์ที่สำคัญของ ComboBox Click เป็นอีเวนต์ที่เกิดขึ้นเมื่อคลิกเลือกที่ตัวเลือกภายใน ComboBox

18 คอนโทรล NumericUpdown : เพิ่มลดค่าตัวเลขในช่วงที่กำหนด
คอนโทรลที่สามารถกำหนดรูปแบบของการป้อนตัวเลขโดยการคลิกปุ่มลูกศรขี้นลง หรือป้อนโดยตรง สามารถบังคับให้ข้อมูลที่ป้อนนั้นอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสมได้ พร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ Minimum เป็นรูปแบบการแสดงข้อมูล มี 3 แบบ Maximum เป็นการกำหนดจำนวนรายการที่แสดงเมื่อคลิกเลือกที่ ComboBox Value เป็นการกำหนดความยาวตัวอักษรที่จะป้อนได้ UserEdit เป็นการระบุว่าผู้ใช้งานสามารถป้อนข้อมูลโดยตรงหรือไม่ Increment เป็นระดับของการเปลี่ยนแปลงค่าสำหรับการคลิกที่ปุ่มลูกศรขึ้นลงแต่ละครั้ง ThousandSeparator เป็นระบุว่าต้องใส่เครื่องหมายจุลภาคคั่นระหว่างตัวเลขหรือไม่ Hexadecimal เป็นการระบุว่าให้แสดงตัวเลขในรูปแบบฐานสิบหกหรือไม่ DecimalPlace เป็นการระบุตัวเลขหลังจุดทศนิยมในกรณีที่เป็นฐานสิบ UpDownAlign เป็นการเลือกว่าจะให้ลูกศรขึ้นลงอยู่ด้านซ้ายหรือขวาของช่องที่กรอกข้อมูล InterceptArrowKeys เป็นการกำหนดว่าจะให้ใช้กดปุ่มลูกศรขึ้นลงที่คีย์บอร์ดเทียบเท่ากับการคลิกปุ่มลูกศรขึ้นลงของตัวคอนโทรลหรือไม่

19 คอนโทรล DateTimePicker : เลือกวันที่และเวลา
คอนโทรลที่ช่วยลดการป้อนข้อมูลด้วยรูปแบบที่ผิดพลาดเช่นวันเดือนปี หรือเวลา มีพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ Value เป็นค่าวันเดือนปีเวลาที่ได้จากการเลือก MinDate เป็นการกำหนดขอบเขตวันเดือนปีต่ำสุดที่คอนโทรลตัวนี้จะแสดงผลได้ MaxDate เป็นการกำหนดขอบเขตวันเดือนปีสูงสุดที่คอนโทรลตัวนี้จะแสดงผลได้ ShowUpDown ระบุได้ว่าต้องการแสดงผลแบบ UpDown หรือ DropDownList แล้วแสดงปฏิทิน Format รูปแบบการแสดงผลวันเดือนปี และเวลาในตัวคอนโทรล มีรูปแบบเป็น Long Short Time Custom

20 คอนโทรล MonthCalendar : เลือกวันที่จากปฏิทิน
คอนโทรลที่ใช้รับข้อมูล วันเดือนปี นอกจากคอนโทรล DateTimePicker มีรูปแบบการใช้งานแบบปฏิทินบังคับรูปแบบการรับจากผู้ใช้ได้ มีพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ MinDate เป็นการกำหนดขอบเขตวันเดือนปีต่ำสุดที่คอนโทรลตัวนี้จะแสดงผลได้ (ค่าดีฟอลต์ที่กำหนดคือ 1 มกราคม พ.ศ.2296) MaxDate เป็นการกำหนดขอบเขตวันเดือนปีสูงสุดที่คอนโทรลตัวนี้จะแสดงผลได้ (ค่าดีฟอลต์ที่กำหนดคือ 31 ธันวาคม พ.ศ.10541) MonthlyBoldedDates เป็นการกำหนดวันที่ในปฏิทินของทุกเดือนให้เน้นด้วยตัวเหนา ShowToday เป็นการแสดงวันเดือนปีปัจจุบันในปฏิทิน ShowTodayCircle เป็นการสั่งให้เขียนวงกลม หรือสี่เหลี่ยมล้อมรอบ ณ วันที่ปัจจุบันในปฏิทิน ShowWeekNumber เป็นการแสดงเลขที่ของสัปดาห์โดยเริ่มนับสัปดาห์แรกของปีตั้งแต่เดือนมกราคม FirstDayOfWeek เป็นการกำหนดวันแรกของสัปดาห์ในปฏิทิน

21 คอนโทรล MonthCalendar : เลือกวันที่จากปฏิทิน (ต่อ)
MaxSelectionCount เป็นการกำหนดช่วงของจำนวนวันที่สามารถเลือกได้จากปฏิทิน SelectedRange เป็นการระบุช่วงของวันที่ได้เลือก โดยประกอบด้วยวันที่เริ่มต้นและวันที่สิ้นสุด CalendarDimension เป็นการกำหนดจำนวนหน้าในปฏิทินที่จะแสดงผล โดยกำหนดจำนวนหน้าในด้านกว้าง และจำนวนหน้าในด้านสูง

22 คอนโทรล GroupBox : จัดกลุ่มของคอนโทรล
คอนโทรลที่ช่วยรวมคอนโทรลที่อยู่อย่างอิสระมาบรรจุไว้ในกลุ่มเดียวกัน (Container) อย่างเช่นคอนโทรล RadioButton ,CheckList เป็นต้น มีพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ Text เป็นการกำหนดข้อความที่อยู่ที่มุมซ้ายบนของ GroupBox

23 คอนโทรล TabControl : แบ่งการทำงานเป็นชีทเหมือน Excel
คอนโทรลที่ช่วยแบ่งกลุ่มการทำงานโดยใช้พื้นที่เดียวกัน ถ้าเปรียบเทียบกับ GroupBox ซึ่งจะใช้พื้นที่แสดงผลมากกว่า มีพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ Multiline เป็นการอนุญาตให้สามารถแสดงแท็บได้หลายบรรทัดถ้าหากความกว้างของคอนโทรลไม่พอจะบรรจุทุกแท็บไว้ได้ SizeMode เป็นการระบุให้ความกว้างงของแท็บ โดยปกติความกว้างจะผันแปรตามความยาวของข้อความใน Tab แต่เราสามารถกำหนดให้คงที่ได้ TabPages เป็นคอลเลกชันที่ใช้เก็บข้อมูลของแต่ละแท็บเอาไว้มีพร้อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ Text เป็นข้อความที่แสดงบนแท็บ ToolTipText เป็นข้อความแนะนำที่แสดงขึ้นมาตอนเอาเมาส์ไปวางทาบที่แท็บ

24 คอนโทรล ProgressBar : แสดงความคืบหน้าของการทำงาน
คอนโทรลที่ช่วยบอกถึงความคืบหน้าในการทำงานนั้น ๆ เพื่อบอกผู้ใช้ว่ายังทำงานอยู่ไม่ได้แฮงก์หรือหยุดการทำงาน มีพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ Minimum เป็นค่าต่ำสุดของ ProgressBar (ปกติกำหนดไว้ที่ 0) Maximum เป็นค่าสูงสุดของ ProgressBar (ปกติกำหนดไว้ที่ 100) สามารถกำหนดให้มากที่สุดถึง 32,768 Value เป็นค่าที่อยู่ระหว่าง Min และ Max โดยการแสดงผลใน ProgressBar จะแสดงในสัดส่วนของเปอร์เซ็นต์ ซึ่งคำนวณได้จากสูตรต่อไปนี้ % ของ ProgressBar = ((Value-Min)*100)/Max Step เป็นระดับชั้นทีเรากำหนดให้เมื่อมีการสั่งให้เพิ่มค่าแบบทีละระดับ ๆ (ใช้ เมธอด PerformStep หรือ Increment) Style เป็นรูปแบบการแสดงความคืบหน้าของ ProgressBar มี 3 แบบ คือ Blocks,Continuous และ Marquees Align เป็นการกำหนดลักษณะการวางตำแหน่งของ ProgressBar ในฟอร์ม อาจจะวางตำแหน่งชิดขอบบน หรือ ขอบล่าง หรือขอบซ้าย หรือขอบขวา หรือตามผู้ออกแบบกำหนด

25 คอนโทรล ProgressBar : แสดงความคืบหน้าของการทำงาน (ต่อ)
PerformStep เป็นการสั่งให้เพิ่มค่าของ ProgressBar ขึ้นไปทีละระดับ Increment เป็นการสั่งให้เพิ่มค่าของ ProgressBar ขึ้นไปยังค่าที่ต้องการ

26 คอนโทรล PictureBox : แสดงรูปภาพ
คอนโทรลที่แสดงภาพนิ่ง ซึ่งสามารถจัดการกับภาพนิ่งที่แสดงได้ในหลาย ๆ ลักษณะโดยกำหนดในพร็อพเพอร์ตี้ มีพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่ Width เป็นความกว้างของคอนโทรล PictureBox Height เป็นความสูงของคอนโทรล PictureBox SizeMode เป็นการจัดการกับขนาดของภาพ ในกรณีที่ขนาดภาพไม่พอดีกับขนาดของ PictureBox Image เป็นออบเจ็กต์ที่ใช้จัดการการแสดงภาพ ควบคู่กับคอนโทรล PictureBox ImageLocation เป็นชื่อของไฟล์พร้อมพาธที่เก็บชื่อไฟล์ที่จะนำมาแสดงผล ErrorImage ชื่อไฟล์รูปภาพที่จะแสดงเมื่อเกิดความผิดพลาดเมื่อไม่สามารถโหลดภาพได้สำเร็จ InitialImage ชื่อไฟล์รูปภาพที่จะแสดงในระหว่างการโหลดภาพ ก่อนภาพที่ระบุจะแสดงขึ้นมา PictureBox เป็นเสมือนกรอบรูป ส่วนออบเจ็กต์ Image นั้นเปรียบเสมือนรูปภาพในกรอบ

27 คอนโทรล PictureBox : แสดงรูปภาพ (ต่อ)
RotateFlip เป็นการสั่งให้มีการหมุนภาพจากปกติ Save เป็นการบันทึกไฟล์รูปภาพนั้นตามรูปแบบที่กำหนด

28 คอมโพเนนต์ ToolTip พร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญได้แก่
Width เป็นความกว้างของคอนโทรล PictureBox Height เป็นความสูงของคอนโทรล PictureBox SizeMode เป็นการจัดการกับขนาดของภาพ ในกรณีที่ขนาดภาพไม่พอดีกับขนาดของ PictureBox Image เป็นออบเจ็กต์ที่ใช้จัดการการแสดงภาพ ควบคู่กับคอนโทรล PictureBox ImageLocation เป็นชื่อของไฟล์พร้อมพาธที่เก็บชื่อไฟล์ที่จะนำมาแสดงผล ErrorImage ชื่อไฟล์รูปภาพที่จะแสดงเมื่อเกิดความผิดพลาดเมื่อไม่สามารถโหลดภาพได้สำเร็จ InitialImage ชื่อไฟล์รูปภาพที่จะแสดงในระหว่างการโหลดภาพ ก่อนภาพที่ระบุจะแสดงขึ้นมา PictureBox เป็นเสมือนกรอบรูป ส่วนออบเจ็กต์ Image นั้นเปรียบเสมือนรูปภาพในกรอบ

29 การทดลอง ProgressBar

30 การทดลอง ProgressBar Private Sub progress_Load(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles MyBase.Load textMin.Text = ProgressBar1.Minimum.ToString() textMax.Text = ProgressBar1.Maximum.ToString() End Sub Private Sub Button1_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Button1.Click Dim i As Integer Button1.Enabled = False If RadioBlocks.Checked = True Then ProgressBar1.Style = ProgressBarStyle.Blocks ElseIf RadioMarquee.Checked = True Then ProgressBar1.Style = ProgressBarStyle.Marquee Else ProgressBar1.Style = ProgressBarStyle.Continuous End If ProgressBar1.Minimum = textMin.Text ProgressBar1.Maximum = textMax.Text For i = ProgressBar1.Minimum To ProgressBar1.Maximum ProgressBar1.Value = i Me.Text = i & "%" System.Threading.Thread.Sleep(150) Next Button1.Enabled = True

31 การทดลอง Tab Control

32 การทดลอง Tab Control Private Sub tab_Load(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles MyBase.Load Label1.Text = "This Is TabPage1" End Sub Private Sub TabControl1_SelectedIndexChanged(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles TabControl1.SelectedIndexChanged If TabControl1.SelectedIndex = 0 Then ElseIf TabControl1.SelectedIndex = 1 Then Label2.Text = "This Is TabPage2" ElseIf TabControl1.SelectedIndex = 2 Then Label3.Text = "This Is TabPage3" ElseIf TabControl1.SelectedIndex = 3 Then Label4.Text = "This Is TabPage4" Else Label5.Text = "This Is TabPage5" End If

33 การทดลอง TrackBar

34 การทดลอง TrackBar Private Sub Track_Load(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles MyBase.Load Label1.Text = 0 End Sub Private Sub TrackBar1_Scroll(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles TrackBar1.Scroll Label1.Text = TrackBar1.Value * 10 & " %"

35 การทดลอง โปรแกรมคำนวณค่าจัดส่งไปรษณีย์

36 โปรแกรมคำนวณค่าจัดส่งไปรษณีย์(ต่อ)
Private Sub Form1_Load(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles MyBase.Load If ComboBox1.Items.Count > 0 Then ComboBox1.SelectedIndex = 0 ' The first item has index 0 ' End If End Sub Private Sub Button1_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Button1.Click Dim crdate As Date Dim boxprice As Integer Dim sumprice As Integer Dim calcp As Integer Dim tape As Integer = 20 Dim stun As Integer = 12 Dim cord As Integer = 15 Dim priceacc As Integer If CheckInput(TextBox1.Text) Then Dim W As Integer = TextBox1.Text If RadioButton1.Checked Then crdate = CalcRev(DateTimePicker1.Value, 1) calcp = CalcPe(W) Else crdate = CalcRev(DateTimePicker1.Value, 7) calcp = CalcPn(W)

37 โปรแกรมคำนวณค่าจัดส่งไปรษณีย์(ต่อ)
If CheckBox1.Checked = True And CheckBox2.Checked = False And CheckBox3.Checked = False Then priceacc = tape ElseIf CheckBox1.Checked = False And CheckBox2.Checked = True And CheckBox3.Checked = False Then priceacc = stun ElseIf CheckBox1.Checked = False And CheckBox2.Checked = False And CheckBox3.Checked = True Then priceacc = cord ElseIf CheckBox1.Checked = True And CheckBox2.Checked = True And CheckBox3.Checked = False Then priceacc = tape + stun ElseIf CheckBox1.Checked = True And CheckBox2.Checked = False And CheckBox3.Checked = True Then priceacc = tape + cord ElseIf CheckBox1.Checked = False And CheckBox2.Checked = True And CheckBox3.Checked = True Then priceacc = stun + cord ElseIf CheckBox1.Checked = True And CheckBox2.Checked = True And CheckBox3.Checked = True Then priceacc = tape + stun + cord Else priceacc = 0 End If boxprice = CalcBox(ComboBox1.Text) sumprice = priceacc + boxprice + calcp MessageBox.Show("ค่าใช้จ่ายในการส่งสินค้ารวม " & sumprice.ToString("#,##0.00") & " บาท " & vbCrLf & "สินค้าจะถึงในวัน" & crdate.ToString("dddd") & "ที่ " & crdate.ToString("dd MMMM yyyy")) ErrorNum() End Sub

38 โปรแกรมคำนวณค่าจัดส่งไปรษณีย์(ต่อ)
Function CalcBox(ByVal StrBox As String) As Integer Dim boxprice As Integer If StrBox = "ก" Then boxprice = 9 ElseIf StrBox = "ข" Then boxprice = 12 ElseIf StrBox = "ค" Then boxprice = 16 ElseIf StrBox = "ง" Then boxprice = 25 Else boxprice = 32 End If Return boxprice End Function

39 โปรแกรมคำนวณค่าจัดส่งไปรษณีย์(ต่อ)
Function CalcRev(ByVal SendD As Date, ByVal SendT As Integer) As String Dim revdate As Date revdate = SendD.AddDays(SendT) Return revdate End Function Function CheckInput(ByVal strWeigth As String) As Boolean If Not IsNumeric(strWeigth) Then Return False End If Return True Function CalcPn(ByVal intWeigth As Integer) As Integer Dim Wprice As Integer If intWeigth > 3000 Then Wprice = 90 ElseIf intWeigth > 2000 Then Wprice = 60 ElseIf intWeigth > 1000 Then Wprice = 40 Else Wprice = 25 Return Wprice

40 โปรแกรมคำนวณค่าจัดส่งไปรษณีย์(ต่อ)
Function CalcPe(ByVal intWeigth As Integer) As Integer Dim Wprice As Integer If intWeigth > 3000 Then Wprice = 120 ElseIf intWeigth > 2000 Then Wprice = 100 ElseIf intWeigth > 1000 Then Wprice = 80 Else Wprice = 50 End If Return Wprice End Function Sub ErrorNum() MessageBox.Show("กรุณากรอกข้อมูลเฉพาะตัวเลข และมีค่ามากกว่า 0", "ผิดพลาด", MessageBoxButtons.OK, MessageBoxIcon.Error) End Sub


ดาวน์โหลด ppt การใช้งานคอนโทรลเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google