ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
โดย
2
เป็นระบบการรายงานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
Website ซึ่งกองแผนงานนำมาใช้ในปีงบประมาณ ๒๕๕๔แทนระบบการรายงานแบบเดิม และใช้เป็นศูนย์ข้อมูล สำหรับการติดตามผลการปฏิบัติงาน ของทุก สำนัก / กอง
3
ดำเนินการโดย เป็นการประยุกต์ใช้แนวคิดจาก
ระบบรายงานแผนงานและงบประมาณแบบ Online ของ สำนักชลประทานที่ ๓ (ปี 2553) และนำมาใช้งานในระดับ กรมฯ ในปี ๒๕๕๔ ดำเนินการโดย คณะทำงานพัฒนาระบบติดตามผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ตามคำสั่ง กรมฯ ที่ ข 601 /2553 ลงวันที่ 7 กันยายน 2553
5
ความเป็นมา
6
ลักษณะการดำเนินงานด้าน การติดตามผลการปฏิบัติงานและผลการเบิกจ่าย
กองแผนงาน กรมได้รับจัดสรรเงินงบประมาณตามเล่ม พรบ งบประมาณรายจ่าย (ขาวคาดเขียว) โครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ดำเนินงานตามแผนงาน /โครงการ สำนัก/โครงการ รายงานความก้าวหน้าผลงาน และผลการใช้จ่ายงบประมาณ กองแผนงาน รวบรวม และจัดทำ รายงาน สรุปเสนอผู้บริหารและหน่วยงานอื่น ๆ
7
ความ ซ้ำซ้อนสิ้นเปลือง งานเอกสาร เป็นภาระ ข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ครบถ้วน
ใช้เวลา และกำลัง คนมาก ปัญหาของระบบการรายงานแบบเดิม:
8
1. ความใหม่
9
วิวัฒนาการของ การติดตามผลการปฏิบัติงานและผลการเบิกจ่าย
อดีต สชป.รวบรวมข้อมูลความก้าวหน้าผลงานและผลเบิกจ่ายจากโครงการ และส่งให้กองแผนงาน รวบรวมข้อมูลแต่ละสำนักมาประมวลผล โดยในอดีตใช้วิธีส่ง อัพโหลดข้อมูลไว้ในระบบอินเทอร์เน็ต โดยใช้แบบฟอร์มของกองแผนงาน ส่งเมล์ตามแบบฟอร์มของแต่ละสำนัก แฟกซ์ ปัจจุบัน สชป. และโครงการ กรอกข้อมูลความก้าวหน้าผลงานและผลการเบิกจ่ายของรายการงานที่รับผิดชอบในระบบได้ทันทีเมื่อมีความก้าวหน้า ระบบจะประมวลผลและแสดงตารางสรุปในระดับต่าง ๆ เช่น ภาพรวมทั้งกรม แต่ละสำนัก และแสดงสรุปเป็นกราฟ ปี2554
10
คำสั่งกรมชลประทานที่ ข 601 /2553 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบการติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
11
2. วัตถุประสงค์
12
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบฯ
สร้างช่องทางการรายงานข้อมูล ที่ใช้งานได้ง่าย สร้างระบบ ช่วยจัดทำสรุป ผลการรายงาน ทุกหน่วยงานมีฐานข้อมูลจากแหล่งเดียวกัน บนอินเตอร์เน็ต ลดขั้นตอนและระยะเวลาการทำงาน ลดการ ใช้เอกสาร
13
3. หลักการ
14
หลักการ/แนวคิดในการพัฒนาระบบ
รวมศูนย์ข้อมูล ไว้ที่จุดเดียว เข้าถึงข้อมูลตามหน้าที่ความรับผิดชอบ ใช้งานง่าย ทำได้ทุกที่ ทุกเวลา สร้างแบบฟอร์มช่วยลดข้อผิดพลาดในการรายงาน
15
แผนภูมิแสดงหลักการทำงานในภาพรวมของระบบ เพิ่ม / แก้ไข รายการงาน
1. การจัดการฐานข้อมูล เพิ่ม / แก้ไข รายการงาน โดย ผู้ประสานแผนฯ สำนัก ข้อมูล GFMIS จากหน่วยเบิกจ่าย SERVER 3. การ update ผลการเบิกจ่าย ทุกรายการงาน โดย ผู้ช่วยผู้ประสานแผน สำนัก 2. การรายงาน ผลการจัดซื้อจัดจ้าง แผน / การเบิกจ่าย แผน / ผลการปฏิบัติงาน โดย ฝ่ายวิศวกรรม ทุกโครงการ 4. รายงานต่าง ๆ
16
4. การออกแบบพัฒนานวัตกรรม
17
ขั้นตอนการดำเนินการ การกำหนด ความต้องการ,ขอบเขตเนื้อหาและหลักเกณฑ์รวมทั้งเงื่อนไขในการรายงานที่ต้องการให้หน่วยงานค่างๆ ดำเนินการ การออกแบบกระบวนการรายงานและกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ดูแลระบบ และผู้ใช้งานระดับต่าง ๆ การออกแบบหน้าตา website ที่ใช้ในการส่งรายงาน และ แสดงผลตามความต้องการของผู้บริหารกรมฯ
18
ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ)
การออกแบบระบบฐานข้อมูลและกำหนดความสัมพันธ์ ตามหลักการในการจัดการระบบฐานข้อมูล และจัดเก็บบน server ของกรม การนำเข้าข้อมูลแผนงานที่ปรากฏชื่อในเล่ม พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทุกรายการ ลงในฐานข้อมูลที่ได้ออกแบบไว้ ทดสอบการใช้งานในระบบโดยให้ สชป. 3 และ สชป. 12 เป็นหน่วยงานนำร่อง เมื่อวันที่ 9 พ.ย. 53 และนำข้อเสนอแนะมาปรับปรุง/แก้ไขระบบฯ
19
ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ)
ประชุมชี้แจงทุกสำนัก/กอง เพื่อชี้แจงการใช้งาน และมอบ user password สำหรับผู้ใช้งานทุกระดับ เมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2553 รธร. มอบหมายให้กองแผนงานดำเนินการนิเทศระบบติดตามออนไลน์ให้แก่ทุกสำนักชลประทาน กองแผนงานและคณะทำงานลงพื้นที่นิเทศระบบฯ และรับฟังข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ จากผู้ปฏิบัติในพื้นที่ แล้วเสร็จเมื่อเมษายน 2554
20
5. การมีส่วนร่วม
21
การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
ก่อน ประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กลุ่มงานตรวจสอบภายใน กองแผนงาน กองการเงินและบัญชี สำนักชลประทานที่ 3 ศูนย์สารสนเทศ เชิญผู้เกี่ยวข้องจาก สชป. 3 และ สชป. 12 เพื่อแนะนำและทดสอบระบบ พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ เมื่อวันที่ 9 พ.ย. 53 ระหว่าง การลงพื้นที่นิเทศระบบให้แก่ สชป. 1 – 17 เพื่อรับฟังความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ รับฟังความคิดเห็นจากผู้ตรวจราชการกรมชลประทาน และนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุง หลัง
22
6. ความสำเร็จ มีระบบติดตามผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ แบบออนไลน์ในระดับกรม ทุกสำนัก/กอง สามารถรายงานข้อมูลผ่านระบบได้โดยง่าย ผู้บริหารทุกระดับสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงและใช้ประโยชน์การบริหารงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลไปใช้งานได้ เช่น กลุ่มตรวจสอบภายใน เป็นต้น
23
7. การแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ ระบบติดตามผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
ใช้งานง่าย แค่รายงานผ่านเว็บไซต์ ผู้บริหาร/ผู้เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย
24
8. การใช้ทรัพยากร การเลือกใช้ระบบ IT ที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบฯ
2. ใช้ศักยภาพของบุคลากรภายในกรมชลประทาน 3. มีการบูรณาการกันระหว่างหน่วยงาน ทำงานร่วมกันเป็นทีม 4. เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาประสบการณ์แก่ทีมงาน ระบบมีความยืดหยุ่น /ประหยัดงบประมาณ
25
9. ความสะดวกในการนำไปใช้งาน
สามารถใช้งานผ่านเว็บไซต์ได้ มีแบบฟอร์มและคำอธิบายอยู่ในเว็บไซต์ทำให้ผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลได้โดยง่าย สามารถเลือกข้อมูลรายงาน จำแนกตามประเภทที่ต้องการได้ เช่น จำแนกตามหน่วยงาน จำแนกตามผลผลิต เป็นต้น ลดระยะเวลา ขั้นตอน ในการทำงาน
26
10. ความเป็นไปได้ในการขยายผล/ ต่อยอดการใช้ประโยชน์
10. ความเป็นไปได้ในการขยายผล/ ต่อยอดการใช้ประโยชน์ กองแผนงาน มีนโยบายที่จะขยายผล/ต่อยอด แนวคิดจากการพัฒนาระบบติดตามฯ ไปใช้ในการจัดทำระบบแผนงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF : Medium Terms Expenditure Framework) แบบออนไลน์ของกรมชลประทานต่อไป หน่วยงานอื่นในกรมชลประทานสามารถใช้แนวคิดจากการพัฒนาระบบติดตามฯ ไปใช้ในการพัฒนาระบบการรายงานด้านอื่น ๆ ได้
27
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.