ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยOrapan Limthongkul ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
พ.ศ.2548 1 1
2
ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2548
มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2548 ยกเลิก ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟัง ความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณ์ พ.ศ.2539 ระเบียบข้อ ๓ 2 2 2
3
ผังกระบวนงาน เริ่มต้น
โครงการชลประทานขนาดใหญ่/กลาง/เล็ก ที่ได้รับงบประมาณค่าก่อสร้างในปีแรก ผังกระบวนงาน เริ่มต้น มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว เริ่มดำเนินการก่อสร้าง ใช่ ไม่ใช่ เผยแพร่ข้อมูลโครงการ โครงการชลประทานขนาดเล็ก ใช่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร้องขอ ไม่ใช่ ใช่ รับฟังความคิดเห็น 3 3 3
4
ผังกระบวนงาน(ต่อ) จบ ดำเนินการรับฟังความคิดเห็น ยกเลิกโครงการ ใช่
ประกาศรับฟังความคิดเห็นล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน มีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการ ไม่ใช่ ยกเลิกโครงการ ดำเนินการรับฟังความคิดเห็น ใช่ กำหนดมาตรการป้องกัน/แก้ไข/เยียวยา เพิ่มเติม สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นภายใน 15 วัน ประกาศผลการดำเนินการรับฟังความคิดเห็น ผลกระทบมากว่าที่ระบุ ใช่ เริ่มดำเนินการก่อสร้าง ไม่ใช่ จบ 4 4 4
5
กรณีที่จะต้องดำเนินการ
โครงการชลประทานขนาดใหญ่/กลาง/เล็กที่ได้รับงบประมาณให้ก่อสร้างในปีแรก โครงการ 2. ต้องดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 5 5 5
6
ได้รับข้อยกเว้นไม่ต้องทำตามระเบียบ
โครงการชลประทานขนาดใหญ่หรือกลางที่ได้จัดทำรายงาน EIA แล้ว 6 6 6
7
ข้อมูลที่ต้องเผยแพร่แก่ประชาชน
1. เหตุผลความจำเป็น และวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. สาระสำคัญของโครงการ 3. ผู้ดำเนินการ 4. สถานที่ที่จะดำเนินการ 5. ขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินการ 6. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 7. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชน รวมทั้งมาตรการป้องกัน แก้ไข หรือเยียวยา 8. ประมาณการค่าใช้จ่ายและที่มาของเงิน วิธีการเผยแพร่ข้อมูล – ในระบบสารสนเทศของ สปน. และอื่นๆขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของหน่วยงาน โดยหลักการ เพียงพอที่ประชาชนจะรับทราบและมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงการของรัฐ 7 ระเบียบข้อ ๗ 7 7
8
ต้องเผยแพร่ที่ สำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี และที่อื่น ๆ ที่ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง เช่น สถานที่ก่อนสร้าง ที่ทำการ ป้ายประกาศหมู่บ้าน ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ระเบียบข้อ ๗ 8 8 8 8
9
วัตถุประสงค์ของการรับฟังความคิดเห็น
ประชาชนมีความเข้าใจที่ถูกต้อง รวบรวมความคิดเห็น / ความเดือดร้อน / ความเสียหาย ระเบียบข้อ ๘ 9 9 9
10
การประกาศให้มีการรับฟังความคิดเห็น ก่อน การรับฟังความคิดเห็น 15 วัน
ต้องประกาศให้ประชาชนทราบถึง 1. วิธีการรับฟังความคิดเห็น 2. ระยะเวลา 3. สถานที่ 4. รายละเอียดอื่น ๆ โดยต้องปิดไว้อย่างเปิดเผย และประกาศในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ระเบียบข้อ ๑๑ 10 10 10
11
วิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
4. การสนทนากลุ่มย่อย การสำรวจ ความคิดเห็น 1. การสัมภาษณ์รายบุคคล 3. การเปิดโอกาสให้ประชาชนมารับข้อมูลและแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบโครงการ 2. การเปิดให้แสดงความคิดเห็นโดยทางไปรษณีย์ โทรศัพท์ โทรสาร ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางอื่นใด ระเบียบข้อ ๙ 11 11 11
12
วิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (ต่อ)
12 วิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (ต่อ) การประชุมปรึกษาหารือ 1. การประชาพิจารณ์ 2. การอภิปรายสาธารณะ 3. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 4. การประชุมเชิงปฏิบัติการ 5. การประชุมระดับตัวแทนของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย ระเบียบข้อ ๙ 12 12
13
หลังจากมีการรับฟังความคิดเห็นแล้ว
จัดทำสรุปผลและประกาศให้ทราบภายใน 15 วัน และถ้าหากปรากฏว่า ผลกระทบมากกว่าข้อมูลที่เผยแพร่ หากดำเนินโครงการต่อ ต้องกำหนดมาตรการป้องกัน / แก้ไข / เยียวยา (เพิ่มเติม)และประกาศให้ทราบ ระเบียบข้อ ๑๒ และข้อ ๑๓ 13 13 13
14
ต้องประกาศที่ สำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี และที่อื่น ๆ ที่ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง เช่น สถานที่ก่อนสร้าง ที่ทำการ ป้ายประกาศหมู่บ้าน ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ระเบียบข้อ ๗ 14 14 14 14
15
15 15
16
ขอบคุณครับ 16 16
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.