งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คำรับรองการปฏิบัติราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คำรับรองการปฏิบัติราชการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ 2549 ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนักชลประทานที่ 4

2 แผนยุทธศาสตร์ของสำนักชลประทานที่ 4 พ.ศ. 2548-2551
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักจัดการน้ำ เทคโนโลยีล้ำสมัย ให้คุณภาพชีวิตที่ดี เกษตรกรมีความมั่นคง

3 พันธกิจ เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาแหล่งน้ำให้ทั่วถึงอย่างยั่งยืนในเขตสำนักชลประทานที่ 4 บริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเกษตรกรมีส่วนร่วม ป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ ส่งเสริมให้ความรู้การบริหารจัดการน้ำกับองค์กรส่วนท้องถิ่นและกลุ่มผู้ใช้น้ำ เพิ่มพื้นที่ชลประทานในเขตสำนักชลประทานที่ 4 ร่วมดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์และการพัฒนาจังหวัดอย่างบูรณาการ

4 เป้าประสงค์ แหล่งน้ำเพิ่มขึ้นและพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น
เกษตรกรกลุ่มผู้ใช้น้ำมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำ และบำรุงรักษาเพื่อกำหนดผลผลิตได้

5 ประเด็นยุทธศาสตร์ การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตร การอุปโภค-บริโภค และอุตสาหกรรม พัฒนาและนำเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน ป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพ

6 กลยุทธ์ การเพิ่มพื้นที่ชลประทานโดยมีแผนงานชัดเจน ปรับปรุงระบบชลประเดิมให้ดีขึ้น บริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ ได้แก่น้ำเพื่อการเกษตร คุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค และอุตสาหกรรม พัฒนาปรับปรุงการเก็บกักและระบายน้ำ เพื่อการป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ จัดตั้ง/ฟื้นฟูกลุ่มผู้ใช้น้ำ ครอบคลุมพื้นที่ชลประทาน และเสริมความเข้มแข็งให้กลุ่ม การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกระบวนการ

7

8 Strategy Map ของสำนักชลประทานที่ 4
องค์กรหลักจัดการน้ำ เทคโนโลยีล้ำสมัย ให้คุณภาพชีวิตที่ดี เกษตรกรมีความมั่นคง วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ กลุ่มผู้ใช้น้ำมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำและบำรุงรักษาคลอง พร้อมอาคารชลประทานเพื่อกำหนดผลผลิตได้ แหล่งน้ำเพิ่มขึ้น และพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น พัฒนาและนำเทคโนโลยี มาใช้ในการปฏิบัติงาน ป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ การจัดการน้ำเพื่อการเกษตร การอุปโภค-บริโภคและอุตสาหกรรม การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วม ที่มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ เพิ่มพื้นที่ ชลประทานโดย มีแผนงานชัดเจน ปรับปรุงระบบฯ เดิมให้ดีขึ้น บริหารจัดการน้ำ แบบบูรณาการ จัดตั้ง/ฟื้นฟูกลุ่มผู้ใช้น้ำ ครอบคลุมพื้นที่ชลประทานและ เสริมความเข้มแข็งให้กลุ่ม พัฒนาปรับปรุงการ เก็บกักและระบายน้ำ เพื่อการป้องกันและ บรรเทาภัยจากน้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารกระบวนการ 1.จำนวนที่เพิ่มขึ้น ของพื้นที่ชลประทาน 2. จำนวนที่เพิ่มขึ้น ของแหล่งน้ำเพื่อ ชุมชน หรือชนบท 1.จำนวนพื้นที่บริหาร จัดการน้ำในเขตชล- ประทาน (Cropping Intencity) 1.ร้อยละของมูลค่า ความเสียหายของ พืชเศรษฐกิจในเขต ชลประทานจาก อุทกภัยและภัยแล้ง 1.ความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ 2.การมีส่วนร่วมของ ประชาชน 3.การป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ 1.อัตราการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่าย ลงทุน 2.การประหยัด งบประมาณ 3.การประหยัด พลังงาน 1.การจัดการความรู้ 2.การจัดการ สารสนเทศ 2.ระดับความสำเร็จ ของการปรับปรุงการ บริหารจัดการเพื่อ สนับสนุนการดำเนิน งานของจังหวัดและ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ Customer มิติด้านปรับปรุง ประสิทธิภาพ Customer มิติด้านการพัฒนา องค์กร Intangible assets มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ Results

9 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ชื่อตัวชี้วัดที่ 1.1 : จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทานใหม่ หน่วยวัด : ล้านไร่ น้ำหนัก : ร้อยละ 15.00 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : ชื่อ นายทวี สว่างศรี ตำแหน่ง ผบร.ชป.4 ผู้จัดเก็บข้อมูล : ชื่อ นายบรรดิษฐ์ อินต๊ะ ตำแหน่ง ชคป.กำแพงเพชร

10 ตัวชี้วัดที่ 1.1 คำอธิบาย
จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทาน หมายถึง พื้นที่ทำการเกษตรที่ทำการก่อสร้างคลองส่งน้ำ และอาคารบังคับน้ำต่างๆ เช่น ฝาย ประตูระบายน้ำ เป็นต้น ทำให้สามารถส่งน้ำจากคลองชลประทานได้ถึงแปลงเพาะ ปลูกของเกษตรกร จากเดิมที่ต้องอาศัยจากน้ำฝนในการเพาะปลูกพืช การก่อสร้างแต่ละโครงการใช้ระยะเวลา 2-5 ปี จึงมิใช่ผลงานที่ทำการก่อสร้างเสร็จปีต่อปี ดังนั้น จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทาน จึงหมายถึงงานที่สร้างเสร็จในปี พ.ศ และ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2548 สำนักชลประทานที่ 4 มีพื้นที่ชลประทานที่สร้างเสร็จ รวมทั้งสิ้น 1.24 ล้านไร่ โดยกำหนดเป้าหมายก่อสร้างเสร็จเพิ่มขึ้นในปี 2549 จำนวน ล้านไร่

11 ตัวชี้วัดที่ 1.1 แหล่งข้อมูล/วิธีการเก็บข้อมูล 1. โครงการก่อสร้าง ที่กำหนดก่อสร้างแล้วเสร็จในปี 2549 โดยให้โครงการชลประทานกำแพงเพชร รวบรวมส่งให้ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา เป็นรายไตรมาส 2. ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ และจำนวนพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้นเป็นรายไตรมาส และสรุปผลสิ้นปีงบประมาณ 3. การก่อสร้างเสร็จตั้งแต่ 80% ขึ้นไปถือว่าเสร็จ และเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์พื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้นใหม่ได้ ทั้งนี้ 20% ที่เหลือเป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์ การทำถนน และเก็บงานอื่น ๆ

12 ตัวชี้วัดที่ 1.1 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4
ระดับ 5 ล้านไร่ ล้านไร่ ล้านไร่ ล้านไร่ ล้านไร่ รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 2547 2548 จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทานใหม่ ล้านไร่ 0.024 0.0345 n/a

13 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับสำนัก/กอง หรือ เทียบเท่า ชื่อตัวชี้วัดที่ 2.1 : จำนวนที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน หน่วยวัด : ล้านไร่ น้ำหนัก : ร้อยละ 10.00 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : ชื่อ นายทวี สว่างศรี ตำแหน่ง ผบร.ชป.4 ผู้จัดเก็บข้อมูล : ชื่อ นายบุญธรรม ปานเปี่ยมโภช ตำแหน่ง ฝจน.ชป.4

14 ตัวชี้วัดที่ 2.1 คำอธิบาย
จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน หมายถึง จำนวนพื้นที่เพาะปลูก ได้แก่ นาข้าว พืชผัก พืชไร่ ผลไม้ ไม้ยืนต้น รวมทั้งพื้นที่บ่อปลา บ่อกุ้ง ที่ทำการผลิตสินค้าการเกษตร ในเขตบริการน้ำจากคลองชลประทานของสำนักชลประทานที่ 4 จำนวน ล้านไร่ จากพื้นที่ทำการเกษตรกรรมทั้งหมดของจังหวัดกำแพงเพชร ตาก สุโขทัย และแพร่ ในแต่ละปี จำนวนประมาณ ล้านไร่ โดยพื้นที่นอกเขตคลองชลประทานจะอาศัยน้ำฝนทำการเกษตรเป็นหลัก

15 ตัวชี้วัดที่ 2.1 สูตรการคำนวณ
พื้นที่ที่ทำการผลิตสินค้าเกษตรในเขตชลประทานช่วงฤดูแล้ง รวมกับ พื้นที่ที่ทำการผลิตสินค้าเกษตรในเขตชลประทานช่วงฤดูฝน แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. โครงการชลประทานจังหวัด 4 จังหวัด ที่มีพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทานในแต่ละจังหวัด รวบรวมจำนวนพื้นที่ที่ทำการผลิตสินค้าเกษตร รายงานส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา 2. ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา รวบรวมข้อมูลทั้ง 4 จังหวัด รายงานผู้บริหารสำนักและเผยแพร่ลง Website ของสำนัก 3. การรายงานข้อมูลตัวเลขพื้นที่จะต่อเนื่องทุกสัปดาห์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากแต่ละพื้นที่เริ่มทำการเพาะปลูกไม่พร้อมกัน บางพื้นที่เพาะปลูกปีละหลายครั้ง แต่การจัดเก็บข้อมูลจะตัดยอดปีละ 2 ครั้ง ครั้งแรกฤดูแล้งตั้งแต่

16 ตัวชี้วัดที่ 2.1 เดือนพฤศจิกายน 2548 ถึงเดือนพฤษภาคม 2549 โดยงวดสุดท้ายจะสิ้นสุด ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2549 เป็นตัวเลขพื้นที่รวมที่ทำการผลิตสินค้าการเกษตรในเขตชลประทานในฤดูแล้ง และเผยแพร่ลง Website ของสำนักฯ 4. รายงานข้อมูลตัวเลขพื้นที่ฤดูฝน เริ่มจากเดือนมิถุนายน 2549 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยงวดสุดท้ายของฤดูฝน ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2549 เป็นตัวเลขพื้นที่รวมที่ทำการผลิตสินค้าการเกษตรในเขตชลประทานในฤดูฝน และเผยแพร่ลง Website ของสำนักฯ 5. นำตัวเลขข้อ 3 มารวมกับ ข้อ 4

17 เกณฑ์การให้คะแนน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549
ตัวชี้วัดที่ 2.1 เกณฑ์การให้คะแนน พื้นที่บริหารจัดการน้ำเป้าหมายในฤดูแล้ง = 40% ของพื้นที่ชลประทาน และพื้นที่เป้าหมายในฤดูฝน = 80% ของพื้นที่ชลประทาน รวม 2 ฤดู = 120% ของพื้นที่ชลประทานทั้งหมด = (120/100)x1.24 ล้านไร่ = ล้านไร่ เกณฑ์การให้คะแนน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 1 2 3 4 5 0.893 1.042 1.190 1.339 1.488 หน่วยวัด (ล้านไร่) รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน : ผลการดำเนินงานตาม (4) (1) ปีการเพาะปลูก (2) ฤดูแล้ง (พ.ย.-พ.ค.)ไร่ (3) ฤดูฝน (มิ.ย.-ต.ค.)ไร่ (4) รวมทั้งสิ้น ไร่ = (2) + (3) (5) พื้นที่ ชลประทาน ย้อนหลัง 1 ปี (6) = (4)/(5) % cropping intencity 2546 447,397 894,308 1,341,705 1,204,050 108.20 2547 496,474 902,450 1,398,924 2548 569,854 950,734 1,520,588 1,241,670 122.46

18 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับสำนัก/กอง หรือ เทียบเท่า ชื่อตัวชี้วัดที่ 2.3 : ร้อยละของมูลค่าความเสียหายของพืชเศรษฐกิจในเขต ชลประทาน หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : ชื่อ นายทวี สว่างศรี ตำแหน่ง ผบร.ชป.4 ผู้จัดเก็บข้อมูล : ชื่อ น.ส.ลักษณา วิทยากรณ์ ตำแหน่ง ฝชน.ชป.4

19 ตัวชี้วัดที่ 2.3 คำอธิบาย
ร้อยละของมูลค่าความเสียหายของพืชเศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแล้ง หมายถึงข้าวนาปรังและข้าวนาปีที่เพาะปลูกในเขตบริการคลองส่งน้ำชลประทานที่ได้รับการป้องกันด้วยระบบคลองระบายน้ำ ประตูระบายน้ำ คันกั้นน้ำ และเครื่องสูบน้ำ ในยามน้ำหลากมากกว่าปกติในฤดูฝนและในฤดูแล้งที่ฝนตกน้อย มิให้เกิดความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตรที่เกษตรกรทำการเพาะปลูกในเขตชลประทาน โดยนาข้าวเสียหาย จะหมายถึงไม่มีข้าวให้เก็บเกี่ยวหลังจากที่ได้ทำการเพาะปลูกไปแล้ว

20 ตัวชี้วัดที่ 2.3 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล
1. รายงานผลรายสัปดาห์มาพร้อมกับตัวชี้วัดที่ 2.1 2. ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา รวบรวมตัวเลข รายงานผู้บริหารสำนักและเผยแพร่บน Web Site ของสำนัก สูตรการคำนวณ 1. ตัวตั้ง { พื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปรังที่เสียหาย คูณ ด้วย ผลผลิตข้าวนาปรังต่อไร่ (ตัน) คูณ ด้วยราคาขายข้าวนาปรังต่อเกวียน (บาท)} บวก ด้วย { พื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีที่เสียหาย คูณ ด้วย ผลผลิตข้าวนาปีต่อไร่ (ตัน) คูณ ด้วยราคาขายข้าวนาปีต่อเกวียน (บาท)} 2. ตัวหาร { พื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปรังทั้งหมด คูณ ด้วย ผลผลิตข้าวนาปรังต่อไร่ (ตัน) คูณ ด้วยราคาขายข้าวนาปรังต่อเกวียน (บาท)} บวก ด้วย { พื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีทั้งหมด คูณ ด้วย ผลผลิตข้าวนาปีต่อไร่ (ตัน) คูณ ด้วยราคาขายข้าวนาปีต่อเกวียน (บาท)} 3. คูณ ด้วย 100

21 ตัวชี้วัดที่ 2.3 เกณฑ์การให้คะแนน รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
เกณฑ์การให้คะแนน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 1 2 3 4 5 4.19 3.19 2.19 1.19 0.19 หน่วยวัด (ร้อยละ) รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน : ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ 2546 2547 2548 0.04 0.52 0.15

22 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การดำเนินงานของจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยวัด : ระดับ น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : ชื่อ นายทวี สว่างศรี ตำแหน่ง ผบร.ชป.4 ผู้จัดเก็บข้อมูล : หัวหน้าโครงการชลประทานจังหวัด ตำแหน่ง ชคป.

23 ตัวชี้วัดที่ 3 คำอธิบาย 1. พิจารณาจากผลความสำเร็จของการดำเนินการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ให้สามารถดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่สำคัญของรัฐบาล งานบริการของส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค การถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด (POC) 2. ประเด็นการปรับปรุงบริหารจัดการ ได้แก่ - การแก้ไข หรือยกเลิกกฎระเบียบ/กฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารจัดการของจังหวัด - การถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - การกำหนดมาตรฐาน/คำนิยาม/วิธีการจัดเก็บข้อมูลเป็นแนวปฏิบัติที่ชัดเจนให้จังหวัดดำเนินการ

24 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 คำอธิบาย (ต่อ) - การกำหนดแนวทางปฏิบัติงานที่มีความชัดเจนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ - การให้องค์ความรู้ที่ใช้บริหารจัดการ - การสนับสนุนทรัพยากร เช่น บุคลากร งบประมาณที่เพียงพอ อุปกรณ์ที่จำเป็น เป็นต้น เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1 2 3 4 5

25 ขั้นตอนที่ 1 : ส่วนราชการวิเคราะห์หรือทบทวนความต้องการของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ในเรื่องที่จังหวัดต้องการได้ รับการสนับสนุนด้านยุทธศาสตร์และ/หรืองานบริการของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ขั้นตอนที่ 2 : จากขั้นตอนที่ 1 ส่วนราชการจัดลำดับหรือทบทวนลำดับความสำคัญของเรื่องที่กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ต้องการได้รับการสนับสนุน และเลือกเรื่องที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ โดยรวมถึงเรื่องที่เป็น นโยบายสำคัญที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา พร้อมทั้งระบุประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับการดำเนินการแต่ละเรื่อง ขั้นตอนที่ 3 : ส่วนราชการจัดทำแผนสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัด 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ ) และแผนปฏิบัติการสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัดปีงบประมาณ พ.ศ รวมทั้งแผนการถ่ายโอนภารกิจของ ส่วนราชการ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ถ้ามี) เสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณาและได้รับความเห็นชอบภายใน วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2549 ขั้นตอนที่ 4: ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัดปีงบประมาณ พ.ศ พร้อมทั้ง ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการระหว่างปีงบประมาณ และจัดทำรายงานหรือเอกสารสรุปความก้าวหน้าในการ ดำเนินการเสนอผู้บังคับบัญชารับทราบ ขั้นตอนที่ 5 : ประเมินผลการดำเนินการ ตามแผนปฏิบัติการปีงบประมาณ พ.ศ และจัดทำรายงาน ประเมินผลความสำเร็จ ณ สิ้นปีงบประมาณ โดยระบุปัจจัยสนับสนุน ปัญหา อุปสรรค ประโยชน์ที่ได้รับหรือ ผลกระทบจากการดำเนินงาน และแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ เสนอ ผู้บังคับบัญชาพิจารณาและได้รับความเห็นชอบ หมายเหตุ : หากความสำคัญและประโยชน์ของเรื่องที่เลือกมาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ ไม่เหมาะสม จะพิจารณาปรับลดคะแนน เหตุผล : เพื่อให้การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ มีการทำงานบูรณาการระหว่างส่วนราชการ ส่วนกลางและ ส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค รวมถึงสนับสนุนการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้สามารถดำเนินกิจกรรมที่อยู่ในความรับผิดชอบได้ เช่น ด้านโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิตการจัดระเบียบชุมชน สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม เป็นต้น

26 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
ประเด็นการประเมินผล :คุณภาพการให้บริการ ชื่อตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : ชื่อ นายทวี สว่างศรี ตำแหน่ง ผบร.ชป.4 ผู้จัดเก็บข้อมูล : หัวหน้าโครงการชลประทาน ตำแหน่ง ชคบ., ชคป.

27 ตัวชี้วัดที่ 4 คำอธิบาย การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ เป็นการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากโครงการชลประทาน โดยสำนักชลประทานที่ 4 เป็นผู้ดำเนินการสำรวจ เสนอประเด็นคำถามสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1. ความพึงพอใจที่เจ้าหน้าที่ชลประทานมาส่งเสริมการใช้น้ำและการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ 2. ความพึงพอใจในการวางแผนการส่งน้ำร่วมกับเจ้าหน้าที่ชลประทาน 3. ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ชลประทานเกี่ยวกับการจัดสรรน้ำอย่างเป็นธรรม 4. ความพึงพอใจต่อคำแนะนำในการแก้ไขปัญหาการขัดแย้งเรื่องน้ำของเจ้าหน้าที่ชลประทาน 5. ความพึงพอใจในการประชาสัมพันธ์ของเจ้าหน้าที่ชลประทาน

28 ตัวชี้วัดที่ 4 งานบริการที่เสนอให้สำรวจเป็นภารกิจหลัก จำนวน 1 งานบริการ คือ งานบริหารจัดการน้ำชลประทาน ทั้งนี้ กลุ่มผู้รับบริการที่จะตอบแบบสำรวจเป็นเกษตรกรผู้ใช้น้ำชลประทาน (น้ำหนัก 95%) และผู้ใช้น้ำชลประทานอื่นๆ (น้ำหนัก 5%) โดยใช้แบบสำรวจเดิมที่ได้ใช้ในปีงบประมาณ พ.ศ และสถานที่ที่จะให้สำรวจจำนวน 6 แห่งๆ ละ 100 ตัวอย่างคือ 1. โครงการชลประทานกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร 2. โครงการชลประทานตาก จังหวัดตาก 3. โครงการชลประทานสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย 4. โครงการชลประทานแพร่ จังหวัดแพร่ 5. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ยม จังหวัดแพร่ 6. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

29 ตัวชี้วัดที่ 4 เกณฑ์การให้คะแนน แบบสำรวจความพึงพอใจ (KPI 3.2)
สำรวจจำนวน 6 แห่ง แห่งละ 100 ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละ 65 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85

30 มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารงบประมาณ ชื่อตัวชี้วัดที่ 7 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 5 แบ่งเป็น รายการค่าครุภัณฑ์ ร้อยละ 0.50 รายการค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ร้อยละ 4.50 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : ชื่อ นายทวี สว่างศรี ตำแหน่ง ผบร.ชป.4 ผู้จัดเก็บข้อมูล : นายภูวดล คำพุฒ ตำแหน่ง ฝงจ.ชป.4

31 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ได้รับ
ตัวชี้วัดที่ 7 คำอธิบาย : การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณ จะใช้อัตราการเบิกจ่ายลงทุนของส่วนราชการทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงินของส่วนราชการ ทั้งนี้ ไม่รวมงบกลาง รายการค่าใช้จ่ายเพื่อปรับกลยุทธ์และรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สูตรการคำนวณ : ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน x 100 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย = วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ได้รับ แหล่งข้อมูลอ้างอิง : ใช้ข้อมูลในการติดตามประเมินผลจากกองแผนงาน

32 ตัวชี้วัดที่ 7 เกณฑ์การให้คะแนน รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน
ร้อยละของความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 1 ร้อยละ 2 ร้อยละ 3 ร้อยละ 4 ร้อยละ 5 รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 2547 2548 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน ร้อยละ n/a 74.29 87.66

33 มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
ประเด็นการประเมินผล : การประหยัดงบประมาณ ชื่อตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : ชื่อ นายทวี สว่างศรี ตำแหน่ง ผบร.ชป.4 ผู้จัดเก็บข้อมูล : นายภูวดล คำพุฒ ตำแหน่ง ฝงจ.ชป.4

34 (งบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549
ตัวชี้วัดที่ 9 คำอธิบาย : ส่วนราชการที่สามารถใช้งบประมาณต่ำกว่างบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และยังได้ผลการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนด แสดงถึงการมีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ โดยพิจารณาจากค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงในรอบปีงบประมาณ พ.ศ เปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 สูตรการคำนวณ : (งบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ – ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549)x 100 (งบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 แหล่งข้อมูล/วิธีการเก็บข้อมูล : 1. ทุกโครงการ รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ตามแบบฟอร์ม เป็นรายไตรมาสให้สำนักชลประทาน รวบรวมส่งให้กองแผนงาน 2. สำนักชลประทานที่ 4 จัดทำรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณเป็นรายไตรมาส และสรุปผลสิ้นปีงบประมาณ

35 ตัวชี้วัดที่ 9 เกณฑ์การให้คะแนน รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ระดับ 1
ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 1 ร้อยละ 2 ร้อยละ 3 ร้อยละ 4 ร้อยละ 5 รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 2547 2548 ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ ร้อยละ n/a 5.81 3.18


ดาวน์โหลด ppt คำรับรองการปฏิบัติราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google