ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNoom Thong-oon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์ข้อมูล DATA ANALYSIS โดย ดร.ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2
การเขียนรายงานการวิจัย
คำถามการวิจัย แหล่งข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย
3
2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
4
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แบบสร้างข้อสรุป
5
การวิเคราะห์ข้อมูลแบบข้อสรุป
การนำข้อมูลที่เป็นข้อความบรรยาย(Descriptive) ที่ได้ลงสรุปให้อยู่ ในรูปของ…...….. การจดบันทึก
6
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การนำข้อมูลที่เป็นข้อความบรรยาย(Descriptive) ที่ได้มาพยายามแปลงให้อยู่ ในรูปของ…...….. จำนวนที่นับได้
7
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
ประเภทของสถิติ สถิติเชิงบรรยาย สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
8
(Descriptive Statistics) ใช้บรรยายลักษณะของประชากร
1. สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) ใช้บรรยายลักษณะของประชากร หรือตัวอย่างที่ศึกษาเท่านั้น โดยไม่สามารถ นำผลการวิเคราะห์ไปสรุปหรืออ้างอิง หรือพยากรณ์ไปยังกลุ่มอื่นได้
9
สถิติเชิงบรรยาย 1. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2. การวัดการกระจาย
3. การวัดความสัมพันธ์
10
(Inferential Statistics)
2. สถิติเชิงสรุปอ้างอิง (Inferential Statistics) เป็นสถิติที่ใช้ในการประมาณค่า คาดคะเน สรุปอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่างไปยังประชากร ที่ต้องการศึกษาทั้งหมด
11
สถิติประเภทนี้ได้แก่
การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน
12
1. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ค่าเฉลี่ย (Mean) หมายถึง ค่าตรงกลางที่เป็น ตัวแทนของข้อมูลชุดนั้น
13
กรณีที่1 ข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่
ข้อมูลเป็นประชากร μ μ แทน ค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จำนวนข้อมูล μ N
14
ข้อมูลเป็นกลุ่มตัวอย่าง
แทน ค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จำนวนข้อมูล
15
2.1 พิสัย(Range) 2. การวัดการกระจาย พิสัย = 19 - 6 = 13
2. การวัดการกระจาย 2.1 พิสัย(Range) พิสัย = คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ำสุด คะแนนสอบ 19, 15, 14, 6, 18, 17, 8, 9 พิสัย = = 13
16
2.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ข้อมูลเป็นประชากร σ σ
17
ข้อมูลเป็นกลุ่มตัวอย่าง
18
3. การวัดความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ หมายความว่า ความสอดคล้องหรือความเกี่ยวข้องกันระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า 2 ตัว
19
Pearson Correlation
20
Spearman’s Rank Correlation
แทน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างอันดับแบบสเปียร์แมน แทน ผลต่างของอันดับแต่ละคู่ แทน จำนวนกลุ่มตัวอย่างหรือจำนวนคู่
21
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง เปรียบเทียบความแตกต่างของระดับตัวแปร
การทดสอบ t การทดสอบ F
22
รูปแบบการทดลอง แบบการทดลองที่ 1
ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว และมีการวัดผลการทดลอง 1 ครั้ง X O1
23
แนวทางการวิเคราะห์ กำหนดเกณฑ์
เปรียบเทียบระหว่างค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่คำนวณได้ กับเกณฑ์
24
สูตร
25
แบบการทดลองที่ 2 ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว มี การวัดผล 2 ครั้ง คือ ก่อนและหลังการทดลอง O1 X O2
26
t = SD ; df = n - 1 แนวทางการวิเคราะห์
เปรียบเทียบระหว่างค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการทดลองใช้นวัตกรรมกับ หลังการทดลองใช้นวัตกรรม t = SD ; df = n - 1 nSD2 - (SD)2 n - 1
27
แบบการทดลองที่ 3 ใช้กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มมี การวัดผล 1 ครั้ง คือ หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง X O1 กลุ่มควบคุม ~X O2
28
กรณีที่ 1:
29
กรณีที่ 2:
30
ส ส สวัสดี วั วั ส ส ดี ดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.