ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPraya Srisai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
องค์กรร่วมลดโลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร
CarboNfootprint for Organization 26 มีนาคม 2555 “รวมพลัง ฝ่าวิกฤต โลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์” กรมอนามัย โรงแรมมิราเคิล
2
ปัจจุบัน ประเทศต่างๆทั่วโลกแจ้งยืนยันที่จะลด
ปัจจุบัน ~ 380 ppm ≤ 2˚C : 450 ppm CO2e Annual world emission today 48 GtCO2e, Year 2020 BAU : 56 GtCO2e; GtCO2e estimated to limit the warming to 2˚C ปัจจุบัน ประเทศต่างๆทั่วโลกแจ้งยืนยันที่จะลด ก๊าซเรือนกระจกรวมกันแล้วได้ประมาณ 60% ของปริมาณที่จะควบคุมอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 2˚C
3
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของประเทศไทย ในปีพ. ศ. 2543 (ค. ศ
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของประเทศไทย ในปีพ.ศ (ค.ศ. 2000) ~ 229 MtCO2e Emission (1000 tons) 69.6% 22.6% 4.1% 7.2% -3.5% Sources of emission by sector
4
การคาดการณ์ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของไทย (BAU)
ปี พ.ศ (2050) (MtCO2e) ที่มา: การศึกษาแนวทางการพัฒนาเพื่อจัดทำข้อมูลและแบบจำลองสำหรับ Emission Inventory ของประเทศไทย, 2553 (JGSEE)
5
สถานการณ์การลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย (มี.ค. 2555)
สถานการณ์การลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย (มี.ค. 2555) โครงการ CDM ในประเทศไทยได้รับการรับรอง (ได้รับ Letter of Approval: LoA) แล้วจำนวน 168 โครงการ รวมปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงได้อย่างเป็นทางการ หรือปริมาณคาร์บอนเครดิตประมาณ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า/ปี (MtCO2e/y) มีจำนวนผู้แสดงความจำนงกว่า 273 โครงการ มีโครงการที่ขึ้นทะเบียนแล้ว 67 โครงการ (~3.49 MtCO2e) และได้รับการรับรองจาก CDM EB แล้ว 11 โครงการ (1.04 M tCO2e/y) โครงการประเภท VER ประมาณ 2 MtCO2e/y รวม ประมาณ MtCO2e/y + ???
6
Carbon Footprint for Products คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วยตลอดวัฏจักรหรือวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน โดยการคำนวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ปัจจุบันได้มีการให้เครื่องหมาย CFP ไปแล้ว 458 ผลิตภัณฑ์ (ก.พ. 2555)
7
Carbon Footprint for Organization คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร
XX tons Organization
8
Operational Boundaries for Organization’s CFP
Emissions from sources owned or controlled by a reporting entity (e.g. fuel combustion) Emissions from sources owned by another entity (e.g. grid electricity) GHG emissions from organization Direct GHG emissions Scope 1 Energy Indirect emissions Scope 2 Other indirect emissions Scope 3 ISO Emissions from extraction and production of purchased materials and fuels, outsourced activities, waste disposal JVETS Boundary EU-ETS Boundary Principles: Relevance, Completeness, Consistency, Accuracy, Transparency
9
Activities under Operation Boundary
Source:
10
กิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกในองค์กร
Scope 1: ลดจากกิจกรรมขององค์กรโดยตรง การประหยัดพลังงาน ลดการใช้เชื้อเพลิง – น้ำมันเตา การจัดเส้นทางขนส่ง บริการขนส่งมวลชน, Car pool สร้าง/ใช้ พลังงานหมุนเวียน : แสงอาทิตย์ ลม ประหยัดน้ำใช้ (กรณีผลิตเอง - ไฟฟ้า น้ำเสีย) การลดปริมาณของเสีย : 3R ปลูกต้นไม้ / ทำสวน Scope 2: ลดการซื้อ การประหยัดพลังงาน ลดการใช้ไฟฟ้าจาก grid – ลิฟท์ เครื่องปรับอากาศ แสงสว่าง และ อุปกร์ไฟฟ้าต่างๆ ประหยัดน้ำใช้ (จากการประปา) E- communication Scope 3: ลดการจ้าง การขนส่ง การกำจัดของเสีย
11
โครงการคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์กรนำร่อง
ปี พ.ศ โครงการนำร่องเพื่อหาแนวทางระเบียบวิธีการ และการคำนวณ 16 องค์กร อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย หน่วยราชการ เทศบาล ปี พ.ศ โครงการนำร่อง 23 เทศบาล เพื่อนำไปสู่กิจกรรม “เมืองลดคาร์บอน (Low Carbon City)”
12
ผลประโยชน์ร่วมจากการลดคาร์บอน (Co-benefit)
ลดค่าใช้จ่ายองค์กร สร้างวินัย สร้างความสัมพันธ์บุคลากร ส่งผลถึงวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงระดับครอบครัว สร้างอาชีพที่เกี่ยวข้อง ลดการใช้ทรัพยากรของประเทศ เสริมสร้างเศรษฐกิจ
13
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
(องค์การมหาชน) Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) Government Complex, Building B, Floor 9, 120 Chaengwatana Rd., Laksi, Bangkok 10210 Tel Fax
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.