ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChoonhavon Kantawong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น วันที่ เมษายน 2554 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด
2
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดตราด
วัยรุ่นมีความตระหนักในบทบาทหน้าที่ มีจิตสาธารณะ มีพฤติกรรมเหมาะสมกับวัยและสังคม รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงโลกภายนอก มีทักษะชีวิต สุขภาพแข็งแรงมีพลานามัยที่ดี อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข(EQ) เติบโตอย่างมีคุณภาพและ เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต
4
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดตราด
ภายใน ๔ ปี (๒๕๔๔-๒๕๕๗) ระดับประชาชน (วัยรุ่น) วัยรุ่นมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ มีทักษะชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสา เป็นแบบอย่างที่ดีในชุมชน - ครอบครัวมีความเข้าใจปัญหาของวัยรุ่น พร้อมให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาทุกเรื่อง - ชุมชนมีความตระหนักถึงปัญหาของวัยรุ่นและส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาวัยรุ่นอย่างมีแบบแผน - ชุมชนมีความพอเพียง ระดับภาคี - สาธารณสุข จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและประชาสัมพันธ์เพื่อให้เข้าถึงบริการ - ศึกษาธิการ กำหนดหลักสูตรโครงสร้างรายวิชาให้ครอบคลุมและเหมาะสมกับผู้เรียน - พม.จ. พัฒนาครอบครัว มหาดไทยและ สำนักงานจังหวัด กำหนดนโยบายและจัดตั้งศูนย์ข้อมูล จัดมาตรการคุ้มครองสิทธิเด็ก - อปท. จัดกิจกรรมสร้างสรรค์และเหมาะสมกับวัยรุ่น สนับสนุนงบประมาณ - วัฒนธรรม ส่งเสริมคุณภาพชีวิตตามหลักคุณธรรม จริยธรรม - แรงงาน ส่งเสริมอาชีพ และรายได้ - ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย - กลุ่มต่างๆ ในชุมชน ร่วมจัดทำแผนงานบูรณาการร่วมกัน - หน่วยงานเอกชน สนับสนุนงบประมาณและอุปกรณ์ ระดับกระบวนการ มีบุคลากรที่มีทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ และทักษะ ที่เหมาะสม - มีทีมสหวิชาชีพ ทำงานแบบบูรณาการ - มีศูนย์ข้อมูลครบถ้วน ทันสมัยและสามารถนำไปใช่ร่วมกันได้ ระดับพื้นฐาน - มีการบูรณาการการทำงานในทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ - มีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ - มีบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานและเป็นมิตรกับวัยรุ่น - มีระบบพัฒนากฎหมาย/กฎ/ระเบียบ และบังคับใช้อย่างเข้มงวด - มีการติดตามประเมินผล
5
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดตราด
ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) (SRM) ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ วัยรุ่นมีความตระหนักในบทบาทหน้าที่ มีจิตสาธารณะ มีพฤติกรรมเหมาะสมกับวัยและสังคม รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงโลกภายนอก มีทักษะชีวิต สุขภาพแข็งแรงมีพลานามัยที่ดี อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข(EQ) เติบโตอย่างมีคุณภาพและเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ มีทักษะชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสา เป็นตัวอย่างที่ดี ในสังคม พัฒนาความรู้และทักษะด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม - ส่งเสริมให้มีจิตอาสา ครอบครัวมีความเข้าใจปัญหาของวัยรุ่น พร้อมให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาทุกเรื่อง พัฒนาความรู้ และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ - ส่งเสริมครอบครัวให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาของวัยรุ่น - ส่งเสริมการมีส่วนร่วม กิจกรรมในครอบครัว ชุมชนมีความตระหนักถึงปัญหาของวัยรุ่นและส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาวัยรุ่นอย่างมีแบบแผน - สนับสนุนการจัดแผนพัฒนาด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ - ส่งเสริมกิจกรรมในการพัฒนาวัยรุ่น - สนับสนุนพื้นที่ให้วัยรุ่นได้มีการแสดงออก ระดับประชาชน (Valuation) อปท./แกนนำเครือข่ายชุมชน - ส่งเสริมการทำแผนแบบบูรณาการ - สนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรในการดำเนินงานอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง - สนับสนุนให้มีแผนงาน/โครงการเยาวชน สธ.สนับสนุน สถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - พัฒนาสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - พัฒนาระบบการช่วยเหลือแบบองค์รวม - พัฒนาศักยภาพเครือข่าย สพท.ปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ - พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น - ปรับกระบวนการเรียนรู้ - พัฒนาศักยภาพผู้สอน - พัฒนาระบบการติดตามประเมินผล ตร./วธ./ปชส./พม.จ. สนับสนุนสวัสดิการ - จัดโซนนิ่ง - คุ้มครองสิทธิเด็ก - ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ - ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบบริหารภาคีที่มีประสิทธิภาพ - มีหน่วยงานเจ้าภาพหลัก - สร้างการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ - พัฒนาศักยภาพเครือข่าย มีระบบติดตามประเมินผล - พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล - ส่งเสริมการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ - พัฒนาศูนย์ข้อมูล มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ - ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้/ถ่ายทอดสู้ชุมชน - ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม มีระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน - พัฒนาศักยภาพบุคลากร - พัฒนาช่องทางการเข้าถึงบริการ ระดับกระบวนการ บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ทักษะและ มีทัศนคติที่เหมาะสม - พัฒนาศักภาพบุคลากร - ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง - สร้างมาตรฐานการทำงาน มีทีมสหวิชาชีพแบบบูรณาการ - สร้างวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม - พัฒนาแผนงานโครงการแบบบูรณาการ - ส่งเสริมบรรยากาศการทำงานเป็นทีม มีศูนย์ข้อมูลที่มีข้อมูลครบถ้วน ทันสมัยและสามารถนำไปใช้ร่วมกันได้ - สร้างระบบฐานข้อมูลกลาง - สร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูล - ประชาสัมพันธ์การใช้ข้อมูล ระดับ พื้นฐาน 5 5
6
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดตราด ภายในปี 2554 (ระยะ 2 ปี) วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ มีทักษะชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสา เป็นตัวอย่างที่ดี ในสังคม พัฒนาความรู้และทักษะด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ ชุมชนมีความตระหนักถึงปัญหาของวัยรุ่นและส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาวัยรุ่นอย่างมีแบบแผน - สนับสนุนการจัดแผนพัฒนาด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ครอบครัวมีความเข้าใจปัญหาของวัยรุ่น พร้อมให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาทุกเรื่อง พัฒนาความรู้ และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ประชาชน สพท.ปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ - พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น อปท./แกนนำเครือข่ายชุมชน - สนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรในการดำเนินงานอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง ตร./วธ./ปชส./พม.จ. สนับสนุนสวัสดิการ - ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ ภาคี สธ.สนับสนุน สถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - พัฒนาสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น มีระบบบริหารภาคีที่มีประสิทธิภาพ - มีหน่วยงานเจ้าภาพหลัก มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ - ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้/ถ่ายทอดสู้ชุมชน มีระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน - พัฒนาศักยภาพบุคลากร กระบวนการ มีระบบติดตามประเมินผล - พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล มีศูนย์ข้อมูลที่มีข้อมูลครบถ้วน ทันสมัยและสามารถนำไปใช้ร่วมกันได้ - สร้างระบบฐานข้อมูลกลาง บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ทักษะและ มีทัศนคติที่เหมาะสม - พัฒนาศักภาพบุคลากร พื้นฐาน มีทีมสหวิชาชีพแบบบูรณาการ - พัฒนาแผนงานโครงการแบบบูรณาการ 6 6
7
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นมีความรู้ ความ เข้าใจด้านอนามัยการ เจริญพันธุ์ มีทักษะ ชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิต อาสาเป็นตัวอย่างที่ดี ในสังคม -พัฒนาความรู้และ ทักษะด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ 1.จัดการเรียนการ สอนเยาวชนใน สถานศึกษาทั้งใน ระบบ/นอกระบบ 2.จัดค่ายเยาวชนเพื่อ กระตุ้นและส่งเสริม เยาวชนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิต อาสา 3.รณรงค์เพื่อลด ปัญหาการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควร -ทุกหมู่บ้านมีเยาวชนที่ เป็นแบบอย่างที่ดี (ต้องมีเกณฑ์) -สพป.ตราด/ สพม.17 -สำนักงาน กศน. -อศจ. -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./อบต.) -สสจ. -พม.จ. -วธ. 7
8
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ตราด ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.ครอบครัวมีความ เข้าใจปัญหาของ วัยรุ่นพร้อมให้ คำปรึกษาและ แก้ปัญหาทุกเรื่อง -พัฒนาความรู้และ ทักษะด้านอนามัย เจริญพันธุ์ให้แก่ ครอบครัว 1.จัดกิจกรรมสร้าง ความรู้ความเข้าใจ เพื่อให้ครอบครัว สามารถปรึกษา เกี่ยวกับปัญหาของ วัยรุ่น 2.จัดกิจกรรมสร้าง การมีส่วนร่วมของ ครอบครัว 3.จัดกิจกรรม โครงการครอบครัว อบอุ่น -มีเครือข่ายครอบครัว อบอุ่นทุกตำบล พม.จ. -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./อบต.) ศธ. วธ. มท. ปชส. สธ. 8
9
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนมีความ ตระหนักถึงปัญหาของ วัยรุ่นและส่งเสริม กิจกรรมพัฒนาวัยรุ่น อย่างมีแบบแผน -สนับสนุนพื้นที่ให้ วัยรุ่นได้มีการ แสดงออก 1.จัดเวทีประชาคม สร้างมาตรการร่วมกัน 2.จัดทำแผนด้าน อนามัยการเจริญพันธุ์ 3.จัดกิจกรรมพัฒนา ศักยภาพวัยรุ่นใน ชุมชน -ทุกหมู่บ้านมีกิจกรรม พัฒนาวัยรุ่นอย่างมี แบบแผน -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./อบต.) -พม.จ. -มท. -ตร. -ปชส. -สธ. 9
10
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.พัฒนาหลักสูตร ความรู้เรื่องอนามัยการ เจริญพันธุ์ วัยรุ่นและ เยาวชน -พัฒนาโครงสร้าง รายวิชาอนามัยการ เจริญพันธุ์ วัยรุ่น และเยาวชน -พัฒนาหน่วยการ เรียนรู้อนามัยการ เจริญพันธุ์ วัยรุ่น และเยาวชน -พัฒนาสื่อ/ กระบวนการเรียนรู้ 1.จัดทำแผนพัฒนา หลักสูตรอนามัยเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่น 1.1พัฒนาโครงสร้าง รายวิชา 1.2พัฒนาหน่วยการ เรียนรู้ 1.3พัฒนาสื่อการ เรียนรู้ 1.4พัฒนา กระบวนการเรียนรู้ 2.จัดกระบวนการ เรียนรู้ในสถานศึกษา 3.ติดตามประเมินผล -สถานศึกษาทุกแห่งใน จังหวัดตราดมีดำเนินการ จัดการเรียนรู้อนามัยการ เจริญพันธุ์ให้เหมาะสมกับ ผู้เรียน -สพป.ตราด/ สพม.เขต17 -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./อบต.) -อศจ. -กศน. -สธ. -ปชส. -สำนักงาน จังหวัด -พม.จ. -วธ. 10
11
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.อปท./แกนนำ เครือข่ายชุมชน สนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากรในการ ดำเนินงานอย่าง เพียงพอและต่อเนื่อง -สนับสนุน งบประมาณและ ทรัพยากรในการ ดำเนินงานอย่าง เพียงพอและ ต่อเนื่อง 1.จัดทำประชาคม ระดับตำบล 2.จัดทำแผนชุมชน และผลักดันเข้าสู่แผน ชุมชน 3.สนับสนุนกิจกรรม สภาเยาวชนระดับ ตำบล 4.สนับสนุนการจัด กิจกรรมในการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ ขององค์กรเครือข่าย -ทุก อปท.มีการสนับสนุน งบประมาณการพัฒนา เยาวชนอย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./อบต.) -พัฒนาชุมชน -สถานศึกษา -ผู้นำชุมชน -พม.จ. -รพ. -ตร. 11
12
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.สาธารณสุข สนับสนุนการจัดตั้ง คลินิกให้คำปรึกษา วัยรุ่น -พัฒนา/จัดตั้ง คลินิกให้คำปรึกษา วัยรุ่น 1.จัดตั้งคลินิกให้ คำปรึกษาวัยรุ่นที่เป็น มิตรกับวัยรุ่นและ เยาวชน 2.จัดอบรมบุคลากร และแกนนำเยาวชน 3.พัฒนาเครือข่ายใน การส่งต่อข้อมูล ข่าวสาร และการดูแล บริการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการติดตาม 4.ส่งเสริมการให้ ความรู้ด้านอนามัย การเจริญพันธุ์วัยรุ่น และเยาวชนแบบเชิง รุกทั้งใน/นอกสถาน บริการสุขภาพ -ทุกโรงพยาบาลมีคลินิก บริการสุขภาพที่เป็นมิตร กับวัยรุ่นตามมาตรฐาน -รพ./สสจ. -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./อบต.) -ศธ. -วธ. -พม.จ. -ตร. -ปชส. -กลุ่มต่างๆใน ชุมชน
13
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.ตร./วธ./ปชส./ พม.จ. ส่งเสริมสถาบัน ครอบครัว -ส่งเสริมการสร้าง สัมพันธภาพใน ครอบครัว 1.ให้ความรู้ผู้ปกครอง ด้านการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการตามวัย รวมทั้งปัญหาของ วัยรุ่นในปัจจุบัน 2.ส่งเสริมกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์ใน ครอบครัว 3.จัดประกวด ครอบครัวอบอุ่นเพื่อ เป็นต้นแบบในชุมชน 4.จัดกิจกรรมจูงลูก เขาวัด 5.จัดโซนนิ่งให้กลุ่ม วัยรุ่นได้มีการ แสดงออกตามบริบท ของพื้นที่ -ทุกตำบลมีพื้นที่จัด กิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับ วัยรุ่น -ตร. -พม.จ. -วธ. -ปชส. -สธ. -ศธ. -วัด -ชุมชน -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./ อบต.)
14
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ตราด ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.มีระบบบริหารภาคี เครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ -มีหน่วยงาน เจ้าภาพหลัก แต่งตั้งคณะทำงาน การพัฒนางาน อนามัยเจริญพันธุ์ทุก ระดับ (จังหวัด/ อำเภอ/ตำบล/ หมู่บ้าน) ประชุมเชิงปฏิบัติการ คณะทำงานเพื่อสร้าง ความรู้และความ เข้าใจ จัดทำแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ระหว่าง ภาคีเครือข่าย มีการถ่ายระดับแผน ที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่ชุมชนหรือจัดทำ MOUระหว่างท้องถิ่น กับผู้ว่าราชการ จังหวัด -มีแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์พัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นทุกระดับ (จังหวัด/อำเภอ/ ตำบล/หมู่บ้าน) สำนักงานจังหวัด ปกครองจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด -พัฒนาชุมชน จังหวัด กษ. ศธ. วธ. พม.จ. สธ. ตร. 14
15
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบติดตาม ประเมินผล -พัฒนาระบบ ติดตามและ ประเมินผล 1.แต่งตั้งคณะทำงาน ติดตามและ ประเมินผล 2.ประชุมเพื่อชี้แจง และกำหนดตัวชี้วัด 3.จัดทำแนวทาง/ แผนปฏิบัติการ ติดตามประเมินผล (จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้) -มีระบบติดตามและ ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ของทุกหน่วยงานในทุก ระดับ สำนักงานจังหวัด ปกครองจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด -พัฒนาชุมชน จังหวัด -ศธ. -พัฒนาชุมชน -วธ. -กษ. -รง. -สธ. -พม.จ. 15
16
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ตราด ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีนวัตกรรมและองค์ ความรู้ -ส่งเสริมการ จัดการความรู้ 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างภาคี เครือข่ายและถอด บทเรียน 2.สนับสนุนภูมิปัญญา ชาวบ้าน 3.จัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติงาน 4.ประชาสัมพันธ์การ ใช้คู่มือ/แนวทาง ปฏิบัติให้ถึง กลุ่มเป้าหมาย 5.มีการประกวด นวัตกรรม -ทุกอำเภอมีนวัตกรรม ด้านอนามัยการเจริญ พันธุ์อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง พม.จ. สธ. สำนักงานจังหวัด -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./อบต.) วธ. ศธ. ตร. กษ. รง. 16
17
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ตราด ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.มีระบบการสื่อสาร และประสานงานที่มี ประสิทธิภาพ ส่งเสริมด้านการ ประชาสัมพันธ์ให้ ทั่วถึงและเข้าถึง ง่าย จัดอบรมพัฒนา บุคลากรด้านการ สื่อสาร/ ประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่/แกนนำ เยาวชน/อสม.และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดทำสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ สร้างและพัฒนาช่อง ทางการสื่อสารให้มี ความหลากหลายและ เข้าถึงง่าย เช่น เคเบิ้ลทีวี อินเตอร์เน็ต วิทยุ ชุมชน จำนวนเยาวชน/ ประชาชนมีส่วนร่วม กิจกรรมด้านอนามัยการ เจริญพันธุ์เพิ่มขึ้น ประชาสัมพันธ์ จังหวัด สารสนเทศจังหวัด สำนักงานจังหวัด อปท. สธ. ศธ. พมจ. วธ ตร. 17
18
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ตราด ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และทัศนคติที่ เหมาะสม -พัฒนาศักยภาพ บุคลากร จัดทำแผนพัฒนา บุคลากร อบรม ประชุม สัมมนา ประเมินผลการ ปฏิบัติงานทุก 6 เดือน สร้างองค์ความรู้และ ทักษะให้แก่ เจ้าหน้าที่/บุคลากร ในหน่วยงาน -สร้างขวัญ กำลังใจ ให้แก่เจ้าหน้าที่ทุก ระดับ -มีการทำงานเป็นทีมใน ทุกระดับอย่างน้อย 1 ทีม -คณะอนุกรรม การพัฒนาอนามัย การเจริญพันธุ์และ เอดส์ระดับจังหวัด สสจ. พม.จ. ทบ./อบต. 18
19
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ตราด ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีทีมสหวิชาชีพ แบบบูรณาการ พัฒนาแผนงาน โครงการแบบ บูรณาการ กำหนดนโยบายฯ ของจังหวัด ประชุมเพื่อถ่ายทอด นโยบายสู่หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมบรรยากาศ การทำงานเป็นทีม ประสานและบูรณา การแผนงานร่วมกัน ติดตามประเมินผล มีนโยบายที่ชัดเจน มีแผนงานโครงการที่ ชัดเจน -คณะอนุกรรม การพัฒนาอนามัย การเจริญพันธุ์และ เอดส์ระดับจังหวัด สนง.จังหวัด -อปท.(หรือระบุ อบจ./ทบ./ อบต.) 19
20
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ตราด ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีศูนย์ข้อมูลที่มี ข้อมูลครบถ้วน ทันสมัยและสามารถ นำไปใช้ร่วมกันได้ สร้างระบบ ฐานข้อมูลกลาง จัดตั้งคณะกรรมการ/ ทำงานศูนย์ข้อมูล ประชุมเชิงปฏิบัติการ ของคณะกรรมการ/ ทำงานเกี่ยวกับระบบ การจัดการข้อมูล จัดระบบการ เชื่อมโยงข้อมูลให้ เข้าถึงได้ง่าย ประชาสัมพันธ์การ เข้าถึงข้อมูล มีฐานข้อมูลครบถ้วน ทันสมัย ถูกต้อง เข้าถึง ง่าย สำนักงานจังหวัด -ปชส. -คณะอนุกรรม การพัฒนา อนามัยการ เจริญพันธุ์และ เอดส์ระดับ จังหวัด 20
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.