ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
แนวทางการดำเนินงาน จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน โดย นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 3
2
1. ปัญหา 1. มีวิธีการจ่ายเงินค่าตอบแทนหลายรูปแบบ
2. การจ่ายค่าตอบแทนไม่สอดคล้องกับภาระงาน 3. ไม่มีประสิทธิภาพ 4. ไม่สร้างแรงจูงใจ 5. ไม่ได้สร้างความเป็นธรรมให้กับบุคลากร
3
2. วัตถุประสงค์ของการจ่าย P4 P
เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการทำงาน เพิ่มคุณภาพของการให้บริการ สร้างความเป็นธรรมให้กับบุคลากรอันจะเป็นผลให้เกิดแรงจูงใจอยู่ในระบบ
4
3. ความเป็นมา 3. รพ.เฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา 4. รพ.ตระการพืชผล
Model รพ.พาน Model รพ.สูงเนิน 2546 2548 2552 1. รพ.มะการักษ์ (200 เตียง) รพ.แก่งคอย 3. รพ.เฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา รพ.ตระการพืชผล 5. รพ.เดชอุดม รพ.วารินชำราบ 7. รพ.ม่วงสามสิบ รพ.สระบุรี 9. รพ.โนนแดง รพ.วชิระภูเก็ต
5
4. ข้อตกลงเบื้องต้น 4.1 จ่ายค่าตอบแทนครอบคลุมทุกวิชาชีพ
4.2 ครอบคลุมกิจกรรม 3 ด้าน คือ ด้านบริการ, วิชาการ และด้านบริหาร 4.3 โรงพยาบาลมีฐานะการเงินที่ดีพอสมควร 4.4 ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นที่จะทำ
6
5. ขั้นตอนการดำเนินงาน 5.1 การสร้างทีมนำ (Core Team) มีหน้าที่ ดังนี้
จากการศึกษาเบื้องต้น มีความเห็นว่าขั้นตอนและกระบวนการดำเนินการควรมี ดังนี้ 5.1 การสร้างทีมนำ (Core Team) มีหน้าที่ ดังนี้ (1) กำหนดกติกาหลักเกณฑ์ ในการจ่ายค่าตอบแทน (2) สร้างกระบวนการเรียนรู้ในทุกกลุ่มงาน (3) ตัดสินใจในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
7
ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ)
5.2 การกำหนดภาระงานขั้นต่ำของผู้ปฏิบัติงาน ตามระบบ Work Point System การคิดภาระงานขั้นต่ำของแต่ละวิชาชีพ ใช้เกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนนอกเวลาราชการ ซึ่งจะแบ่งกลุ่มวิชาชีพ ได้ 6 กลุ่ม ดังนี้ (1) แพทย์และทันตแพทย์ 90 คะแนน/วัน (2) เภสัชกร 60 คะแนน/วัน (3) พยาบาลวิชาชีพ 50 คะแนน/วัน (4) เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน 40 คะแนน/วัน (5) สายงาน ปวช.,การเงิน,การบริหาร 30 คะแนน/วัน (6) ลูกจ้าง คะแนน/วัน
8
ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ)
5.3 การกำหนดค่างาน ตาม Work Point การกำหนดค่าของงานนั้นจำเป็นต้องอาศัยการพูดคุยกัน (Dialogue) บนพื้นฐาน ดังต่อไปนี้ (1) ระยะเวลาในการทำกิจกรรม (2) ความยาวและความเป็นวิชาชีพของกิจกรรมนั้น (3) ความเสี่ยง (4) การให้คะแนนตามราคากลางที่กำหนดโดย ส่วนกลาง หรือสภาวิชาชีพ
9
ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ)
5.4 กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดการยอมรับ(Negotiation Process ) เป็นกระบวนการที่สำคัญที่จะทำให้เกิด 4.1 การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 4.2 การแก้ปัญหาทุกชนิด 4.3 เกิดการยอมรับและการมีส่วนร่วม
10
ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ)
5.5 กระบวนการบันทึกข้อมูล ผลการปฏิบัติงาน มักจะมีคำถาม 2 ข้อ คือ (1) ทำอย่างไรไม่ให้การบันทึกข้อมูลเป็นการเพิ่ม ภาระให้กับเจ้าหน้าที่ (2) ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ข้อเสนอ คือ พัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูปเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล เปิดเผยข้อมูลให้สามารถตรวจสอบได้
11
ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ)
5.6 การกำหนดวงเงินจัดสรรในแต่ละเดือน ควรไม่น้อยเกินไปหรือมากเกินไป ค่าเฉลี่ยน่าจะอยู่ที่ 1,000 – 3,000 บาท/คน แบ่งเงินที่จะจัดสรรเป็น 4 ส่วน คือ (1) สำหรับผู้บริหาร (2) Work Point ของผู้ปฏิบัติงาน (3) Quality point (4) Capital cost
12
ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ)
5.7 การทดลองจ่ายบนกระดาษ ก่อนที่จะจ่ายจริงควรมีการทดลองจ่ายบนกระดาษก่อนเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้ ศึกษาดูว่า เหมาะสม ใกล้เคียงความเป็นจริงหรือไม่ 5.8 Auditing System ความผิดพลาดอาจเกิดจากความตั้งใจ หรือไม่ตั้งใจก็ได้ หากเป็นความผิดพลาดที่เกิดจากความตั้งใจ ต้องมีการลงโทษ 5.9 การประเมินผลการดำเนินงาน ดังได้กล่าวแต่ต้นว่า การเพิ่มเงิน P4P ต้องส่งผลให้เกิด ประสิทธิภาพ คุณภาพ ขวัญและกำลังใจ ของผู้ปฏิบัติงาน จึงต้องประเมิน 3 ประเด็น ดังกล่าว
13
ผลที่ได้รับเบื้องต้น
1. เจ้าหน้าที่ มีความกระตือรือร้นมากขึ้น 2. เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจ 3. เกิดบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับเงินเดือน 5. ผู้บริการจะมีความพึงพอใจมากขึ้น
14
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.