ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทำวิจัยนโยบายอย่างไรให้ได้ประโยชน์
สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
2
ประเด็นที่ควรรู้และข้อคิด
ความหมายของนโยบายสาธารณะ กระบวนการนโยบายสาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมืองของการกำหนดนโยบาย กรณีศึกษาการกำหนดนโยบายสาธารณะในประเทศไทย การวิจัยนโยบายสาธารณะ
3
ความหมายของนโยบายสาธารณะ
นโยบายสาธารณะ = การดำเนินการของหน่วยงานรัฐ โดยผ่านกฎหมาย การสนับสนุนทางการเงิน หรือมาตรการอื่นๆ นโยบายสาธารณะก่อให้เกิดผลกระทบต่อคนกลุ่มต่างๆ ไม่เหมือนกันหรือไม่เท่าเทียมกัน
4
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
1. ระบุปัญหา 2. วางนโยบาย 3. ออกกฎหมาย/มาตรการ 5. ประเมินนโยบาย 4. นำนโยบายไปปฏิบัติ
5
ผู้มีส่วนได้เสียจากนโยบาย
ธุรกิจ แรงงาน การเมือง ผู้บริโภค ราชการ ผู้เสียภาษี พลเมือง นักวิชาการ NGO
6
นโยบายของไทยถูกกำหนดที่ไหน?
7
ขั้นตอนการกำหนดนโยบายสาธารณะ: มติ ครม.
ความเห็นหน่วยราชการอื่น คณะรัฐมนตรี กฤษฎีกา* กระทรวง หน่วยราชการ * กรณีที่เป็นพระราชกฤษฎีกาและกฎกระทรวง
8
ขั้นตอนการกำหนดนโยบายสาธารณะ: กฎหมาย
วุฒิสภา กรรมาธิการ (กรรมาธิการร่วม) สภาผู้แทนราษฎร กรรมาธิการ ความเห็นของหน่วยราชการอื่น คณะรัฐมนตรี กฤษฎีกา กระทรวง หน่วยราชการ
9
เศรษฐศาสตร์การเมืองของการกำหนดนโยบาย
นักการเมืองกำหนดนโยบายโดยหวังคะแนนเสียง และ ผลประโยชน์ทางการเงิน ความเข้มข้นของผลประโยชน์และความพร้อมในการจัดตั้งของกลุ่มผลประโยชน์มีความสำคัญมากกว่าจำนวนสมาชิก กลุ่มผลประโยชน์สามารถมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายโดย การล็อบบี้ การให้เงินสนับสนุนทางการเมือง และการฟ้องร้อง
10
กระบวนการนโยบายสาธารณะที่ดี
มีองค์ความรู้สนับสนุนอย่างเพียงพอ โปร่งใส และเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่าง กว้างขวาง มีการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบด้านลบอย่างเป็นธรรม มีกระบวนการประเมินนโยบาย
11
เป้าหมายการวิจัยนโยบายสาธารณะ
การเปลี่ยนความเข้าใจของสังคม การป้องกันนโยบายสาธารณะที่ไม่ดี การสร้างสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี
12
กรณีศึกษา: การวิจัยที่เปลี่ยนความเข้าใจสังคม
ผลกระทบการจ้างงานจากการใช้เครื่องทอผ้าสมัยใหม่ ผลกระทบจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตรตามกรอบ FTA ไทย-จีน การประเมินผลกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา นิติเศรษฐศาสตร์ของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา: ทำไมคดีล้นศาลและนักโทษล้นคุก * การวิจัยต้องมีข้อมูลสนับสนุนอย่างแน่นหนา ไม่ถูกโต้แย้งได้โดยง่าย
13
กรณีศึกษา: การวิจัยที่ป้องกันนโยบายไม่ดี
การแปรสัญญาสัมปทาน และการออก พ.ร.ก. ภาษีสรรพสามิตโทรคมนาคม การออกใบอนุญาตโทรศัพท์ 3G * การวิจัยต้องมีข้อมูลสนับสนุนอย่างแน่นหนา ไม่ถูกโต้แย้งได้โดยง่าย และสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล โดยทำให้เป็นประเด็นสาธารณะ
14
กรณีศึกษา: การวิจัยเพื่อเสนอนโยบายที่ดี
ทำไมค่าบริการอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยจึงแพง การจัดตั้งสถานีโทรทัศน์สาธารณะในประเทศไทย การออก พ.ร.บ. การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 การออก พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ.... * การวิจัยต้องมีข้อเสนอนโยบายที่ชัดเจน ปฏิบัติได้ และสื่อสารกับสาธารณะอย่างมีประสิทธิผล จนโน้มน้าวผู้กำหนดนโยบายได้
15
กรณีศึกษา: ความล้มเหลว
การร่างกฎหมายว่าด้วยความโปร่งใสทางการคลัง พ.ศ.... การร่างพระราชกฤษฎีกาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.... การร่างกฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ... การจัดทำแผนแม่บท/แผนกลยุทธ์ XXX
16
คำถามที่ควรพิจารณา เป้าหมายของการวิจัยนโยบายคืออะไร?
จะนำเสนองานวิจัยสู่กระบวนการนโยบายอย่างไร? ใครเป็นเจ้าภาพ? ใครเป็นผู้ปฏิบัติ? ใครได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์จากนโยบาย? ใครเป็นแนวร่วม? ใครจะขัดขวาง? จะสื่อสารกับสังคมอย่างไรให้มีประสิทธิผล?
17
เอกสาร ทั้งหมดมีอยู่ที่
เอกสารอ้างอิง (1) รายงานการวิจัยเชิงนโยบายต่างๆ 20 ปี ทีดีอาร์ไอ อัตชีวประวัติและงานของ เสนาะ อูนากูล การประเมินนโยบายสาธารณะด้านสังคมด้วยวิธีการเศรษฐมิติ บทความเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการสาธารณูปโภค การแข่งขันทางการค้า และตลาดหลักทรัพย์ “จุดคานงัด” ประเทศไทยเพื่อฝ่าวิกฤตการณ์สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ที่ซับซ้อน เอกสาร ทั้งหมดมีอยู่ที่
18
เอกสารอ้างอิง (2) The Oxford Handbook of Public Policy
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย โดยรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.