งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายคู่ กลาสนอสต์ เปเรสทรอยก้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายคู่ กลาสนอสต์ เปเรสทรอยก้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายคู่ กลาสนอสต์ เปเรสทรอยก้า

2 ผู้นำของสหภาพโซเวียต
วลาดิมีร์ เลนิน ค.ศ โจเซฟ สตาลิน ค.ศ กอร์กี มาเลนคอฟ ค.ศ นิกิตา ครุสชอฟ ค.ศ นิโคไล บุลกานิน ค.ศ อเล็กไซ โคซิกิน ค.ศ เลโอนิค เบรซเนฟ ค.ศ

3 ยูริ แอนโดรปอฟ. ค. ศ. 1982-1984 คอนสแตนติน เชอร์เนนโก ค. ศ
ยูริ แอนโดรปอฟ ค.ศ คอนสแตนติน เชอร์เนนโก ค.ศ มิคาอิล กอร์บาชอฟ ค.ศ บอริส เยลต์ซิล ค.ศ วลาดีมีร์ ปูติน ค.ศ ปัจจุบัน

4 กอร์บาชอฟ

5 กอร์บาชอฟ กับโรแนล เรแกน
ยุคสิ้นสุดสงครามเย็น กอร์บาชอฟ กับโรแนล เรแกน

6 วลาดิเมียร์ ปูติน บอลิช เยลซิล

7 มิคาอิล กอร์บาชอฟ กลาสนอสต์ (เปิด) นโยบายที่ส่งเสริมเสรีภาพทางสังคมและวัฒนธรรม เปเรสทรอยก้า (ปรับเปลี่ยน) สู่ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เน้นที่เอกชนมีบทบาททางการผลิต เริ่มใช้นโยบาย ค.ศ. 1986

8 ประเทศแรกที่แยกตัวคือเอสโทเนีย

9

10

11 1.อาร์เมเนีย 2. อาเซอร์ไบจาน 3. เบโลรัสเซีย
Republics of the Soviet Union 1.อาร์เมเนีย 2. อาเซอร์ไบจาน 3. เบโลรัสเซีย 4.เอสโตเนีย จอร์เจีย คาซัคสถาน เคอร์กีเซีย 8. แลตเวีย ลิทัวเนีย มอลดาเวีย รัสเซีย ทาจิกิสถาน 13.เติร์กเมนิสถาน ยูเครน อุซเบกิสถาน

12 ตามด้วยลัตเวีย ลิทัวเนีย จอร์เจีย
ทำให้เหลือ 11 สาธารณรัฐ ทำให้ สหพันธรัฐรัสเซีย เบโลรุสเซีย และยูเครน ร่วมมือกันเป็นแกนจัดตั้งเครือจักรภพรัฐเอกราช

13 ผลกระทบจากการใช้นโยบาย
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ เกิดการขาดแคลนอาหาร การว่างงาน และสังคม เกิดการแยกตัวของดินแดนในสหภาพโซวียต กลุ่มทะเลบอติก และยุโรปตะวันออก ชุมนุมเพื่อเรียกร้องเสรีภาพ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการทหาร นโยบายถอนทหารจากแอฟกานิสถาน เชสโกสโลวะเกีย ฮังการี การปฏิวัติสายฟ้าแลบ นำไปสู่การยกเลิกสหภาพโซเวียต (15สาธารณรัฐ) มาเป็นแบบเครือรัฐเอกราช CIS

14

15

16 รัสเซีย เบลารุส ยูเครน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจัน
Commonwealth of Independent States รัสเซีย เบลารุส ยูเครน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจัน คาซักสถาน คีร์กิสถาน มอลดูวา ทาจิกิสถาน เตอร์มินิสถาน อูซเบกิสถาน

17 การปฏิวัติสายฟ้าแลบ 1991 โดยกลุ่มทหาร และ KGB กลุ่มคอมมิวนิสต์หัวอนุรักษ์ก่อการเพื่อโค่นล้ม กอร์บาชอฟ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ดำเนินการ 3 วัน ถูกต่อต้านจากทหารรุ่นใหม่และประชาชนนำโดย บอลลิส เยลซิน

18 ปัจจุบันใช้ธงชาติแบบใด

19

20

21

22

23 เชชเนีย หรือเชเชยา อยู่บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของเทือกเขาคอเคซัส มีทรัพยากรที่สำคัญคือน้ำมัน แร่ธาตุแหล่งเกษตรกรรมปลูกองุ่น ในสมัยของประธานาธิบดี กอร์บาชอฟ ค.ศ เชชเนียเรียกร้องเอกราช กองทัพรัสเซียเข้าไปปราบปราม เชชเนียปกครองตนเองโดยไม่ฟังคำสั่งจากรัฐบาลกลาง

24 ค.ศ.1994 นายพลดูดาเยฟ ประกาศแยกตัวจากรัฐบาลกลาง ประธานาธิบดีบอริล เยอต์ซิล ใช้กำลังปราบปราม ชนชาติรัสเซียและกลุ่มต่อต้านนายพลดูดาเยฟจัดตั้งรัฐบาลซ้อนและได้รับความช่วยเหลือจากรัสเซีย ปี 1996 ถอนทหารออกจากเชชเนีย ต่อมาเยซิลแก้ปัญหาเชชเนียโดยการเจรจายุติการสู้รบและชะลอเวลาเรื่องการแยกตัวออกไป 5 ปี

25 สมัยวลาดิเมียร์ ปูติน
สมัยวลาดิเมียร์ ปูติน ใช้มาตรการเด็ดขาดในการแก้ปัญหาเชชเนีย เพราะถือว่าเป็นกลุ่ม กบฏ ก่อการร้าย ค.ศ กบฏเชชเนียบุกยึดโรงละครที่มอสโก มีการบุกโจมตี มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก 1 ก.ย มีการบุกโรงเรียนประถม

26 สาเหตุที่เยลต์ซินไม่ยอมให้เชชเนียแยกตัว
เป็นแหล่งน้ำมันและเส้นทางส่งออกน้ำมันด้านทะเลสาบแคสเปียนและเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของรัสเซีย อาจเป็นแบบอย่างให้รัฐเล็กๆเรียกร้องเอกราช รัฐธรรมนูญปี 1993 ไม่ยอมรับสิทธิที่เขตแดนใดแยกตัวจากรัสเซีย


ดาวน์โหลด ppt นโยบายคู่ กลาสนอสต์ เปเรสทรอยก้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google