งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พุทธประวัติ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พุทธประวัติ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พุทธประวัติ

2 ม. ๒/๑ ด. ช. จิรพัฒน์ คงหิรัญ(๕) ด. ญ. สรัลพร ตาปราบ(๔๑) ด. ช
ม.๒/๑ ด.ช.จิรพัฒน์ คงหิรัญ(๕) ด.ญ.สรัลพร ตาปราบ(๔๑) ด.ช.ณภู ตรึกดี(๘) ด.ญ.สุกานดา มานะกิจ(๔๓) ด.ช.ณัฐนนท์ พันธุภัทร์(๑๑) ด.ช.กษิภัท นาลินธม (๔๗) ด.ญ.ธารริน ลี้กําจร(๑๗) ด.ญ.ณัฐนรี เลิศวิทยานุรักษ์ (๔๘) ด.ญ.ภัทรกันย์ สุขวารี(๓๐) ด.ช.ดิศรณ์ เที่ยงเจริญ(๔๙) ด.ช.ภูมิ ธนาคุณ(๓๒) ด.ญ.วรรณิดา สิทธิเวชไทย(๕๐) ด.ช.ลภน จารุเกษตรพร(๓๖)

3 ตัวชี้วัด วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสตร์ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตามตัวอย่างที่กำหนด

4 สาระการเรียนรู้กลาง สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ (ผจญมาร,การตรัสรู้,การสั่งสอน) พุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ นางชุชชุตราพระเจ้าพิมพิสาร) ชาดก (มิตตวินทุกชาดก ราโชวามชาดก) ศาสนิกตัวอย่าง พระมหาธรรมราชาลิไทย สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาชิรญาณวโรรส

5 บทนำ พระพุทธเจ้าเป็นผู้พร้อมเพรียงไปด้วยความดีความงามหลายประการ ทั้งนี้ไม่ได้เป็นเพื่อนประโยชน์ส่วนตน แต่ยังบำเพ็ญเพื่อประโยชน์เกื้อกูลของคนทั้งโลก อย่างแท้จริง

6 ๑ พจญมาร เมื่อพระมหาสัตว์ ทรงรับหญ้ากุสะ ๘ กำจากพรามหมณ์แล้ว ทรงนำไปปูลาดเป็นอาสนะ ที่โคนต้น อัสสัตถิ

7 ต้นอัสสัตถะ (ต้นพระศรีมหาโพธิ์)

8 ประทับนั่งผินพระพักตร์ไปทาง แม่น้ำเนรัญชรา ทรงตั้งอธิษฐานว่า
“ตราบใดที่ยังไม่บรรลุสิ่งที่พึงบรรลุด้วยความพยายามของบุรุษ ด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ แม้ว่าเลือดและเนื้อจะเหี่ยวแห้งไป แต่หนังและกระดูกก็ตามที เราจะลุกไม่ขึ้นจากอัสนะนี้”

9 ทรงนั่งสมาธิได้ฌาน ทรงฌานเป็นฐานแห่งปัสสนาแนวดิ่งต่อไป ว่ากันว่าพญามารนามวสวัตดี ผู้ตามพจญ พระองค์มาโดยตลอด ตั้งแต่วัยเสด็จออกผนวช มาปรากฏตัวพร้อม เสนามาร มีอาวุธน่าสะพรึงกลัว พญามารร้อง บอกให้พระองค์เสด็จลุกจากอาสนะว่า... บัลลังค์นี้เป็นของข้า ท่านจงลุกขึ้นเดี๋ยวนี้

10 เมื่อพระองค์แย้งว่า บัลลังค์นี้เป็นของพระองค์ พญามารมหายาน พระองค์ทรงเหยียดนิ้วชี้ ลงยังพื้นดินแล้วตรัสว่า “ขอให้วสุนธรา (พระแม่ธรณี) จงเป็นพยาน”

11 ทันใดนั้น พระแม่ธรณี ก็ผุดขึ้นจากพื้นดิน ปรากฏตัวบีบมวยผม บันดาลให้มีกระแสน้ำหลากมาท่วม กับพญามาร ทั้งกองทัพพ่ายแพ้ไปในที่สุด

12 ๒ การตรัสรู้ ทรงฝึกปฏิบัติโยคะ ทรงบำเพ็ญตบะ ทรงบำเพ็ญทุกกรกริยา
เมื่อทรงผนวชแล้ว ได้ศึกษาทางพ้นทุกข์อยู่เป็นเวลา ๖ ปี จึงได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนี้ ทรงฝึกปฏิบัติโยคะ ทรงบำเพ็ญตบะ ทรงบำเพ็ญทุกกรกริยา

13 ขั้นที่๑ ทรงฝึกปฏิบัติโยคะ
ในแค้วนมคธ สมัยนั้นมีอาจารย์ ผู้มีชื่อเสียง อยู่ ๒ ท่าน ที่สอนวิธีฝึกโยคะ คืออาฬารดาบส กาลามโคตร กับ อุททกดาบส รามบุตร ทรงไปศึกษากับอาจารย์ทั้ง ๒ ท่านได้สำเร็จ ก็ทรงทราบด้วยพระองค์เองว่า ไม่ใช่ทางดับทุกข์ที่แท้จริง จึงออกแสวงหาทางดับทุกข์โดยลำพังต่อไป.

14 ขั้นที่ ๒ ทรงบำเพ็ญตบะ บำเพ็ญตบะคือ การทรมานตนเองให้ลำบาก ตามวิธีทรมานตนเองแบบต่างๆ ที่นักบวช ชาวอินเดียนิยมทำกันเป็นจำนวนมาก และเชื่อว่าเป็นแนวทางดับทุกข์ทางหนึ่ง แต่ก็ยังไม่พบทางแห่งความพ้นทุกข์ จึงเริ่มขั้นตอนที่ ๓

15 ขั้นที่3 ทรงบำเพ็ญทุรกริยา
ทุกกรกริยา แปลว่าการกระทำที่ยากที่จะทำ ทรงกระทำ 3 ขั้นตอนดังนี้ 2.กลั้นลมหายใจ 1.กัดฟัน 3.อดอาหาร ขั้นที่4 ทรงบำเพ็ญเพียรทางจิต หรือก็คือ ทรงคิดค้นหาเหตุผลทางด้านจิตใจนั่นเอง

16 การรู้แจ้งของพระองค์สามารถสรุปเป็นขั้นๆดังนี้
ในยามต้น ทรงระรึกชาติหนหลังของพระองค์ได้ ในยามที่สอง ทรงได้ตาทิพท์มองเห็นการเกิด การจายของสัตว์ทั้งหลายตามผลกรรมที่ได้กระทำไว้ ในยามที่สาม ทรงเกิดความรู้แจ้งที่สามารถทำลายกิเลสใหเหมดสิ้นไปได้ สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้นี้ก็คือ กระบวนการเกิดขึ้นของทุกข์และการดับทุกข์ เรียกว่า “อริยสัจ4”

17 หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าทรงพิจรณาสัตว์โลกที่จะพึงสั่งสอน เปรียบเทียบกับดอกบัว3เหล่า ที่เจริญงอกงามใน3ระดับ(ต่อมาพระอรรถกถาจารย์ได้เพิ่มเป็น4ระดับ เรียกว่าดอกบัว4เหล่า)เสร็จแล้วตัดสิ้นพระทัยไปสั่งสอน โดยมุ่งไปที่ปัญจวัคคีย์เป็นกลุ่มเป้าหมายแรก หลังจากทรงทราบว่าพระอาจารย์ทั้งสองถึงแก่มรณภาพไปก่อนหน้านั้นแล้ว 7 วัน

18 ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา

19 พระสารีบุตร เดิมชื่อ อุปติสสะ เป็นบุตรของวังคันตพราหมณ์ มารดาชื่อสารี บิดาเป็นนายบ้าน อุปติสสคาม ใกล้เมืองราชคฤห์ บิดามารดามีฐานะร่ำรวย พระสารีบุตร เหตุที่ท่านได้ชื่อว่า สารีบุตร เนื่องจากเมื่อท่านบวชแล้วเพื่อนพระภิกษุด้วยกันมักเรียกท่านว่า สารีบุตร แปลว่า บุตรนางสารีตามชื่อมารดาของท่านอุปติสสะมีสหายคนหนึ่งชื่อว่า โกลิตะ เป็นบุตรของนายบ้านโกลิตคามซึ่งอยู่ไม่ไกลกันนัก ทั้งสองเป็นเพื่อนสนิทกัน เที่ยวด้วยกันและศึกษาศิลปวิทยาร่วมกัน

20 พระสารีบุตร ขณะนั้นเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่พระเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เดินทางมาเพื่อเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าและกำลังบิณฑบาตอยู่ อุปติสสะได้พบท่านเกิดความเลื่อมใสศรัทธา จึงติดตามไปเมื่อพระอัสสชิฉันอาหารเสร็จแล้ว จึงได้เข้าไปถามถึงข้อปฏิบัติ พระอัสสชิได้แสดงธรรมให้ฟังสั้น ๆ ว่า สิ่งทั้งหลายย่อมเกิดจากเหตุ จะดับไปก็เพราะเหตุดับ

21 พระสารีบุตร เมื่อบวชแล้ว พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาอบรม บริวารทั้งหมดได้สำเร็จอรหันต์ก่อน ส่วนอุปติสสะ ได้บำเพ็ญธรรมต่อมาอีก 15 วันจึงได้สำเร็จอรหันต์พระสารีบุตร ได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่า “เป็นผู้มีคุณธรรมดีเด่นด้านปัญญา”

22 คุณธรรมที่เป็นแบบอย่าง
1. เป็นผู้มีปัญญาหลักแหลม สามารถเข้าใจคำสอนของพรพุทธเจ้าได้อย่างลึกซึ้ง และอธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างดียิ่ง เมื่อมีพระสงฆ์สาวกจะทูลลาไปต่างเมือง พระพุทธเจ้ามักตรัสให้ไปลาและรับฟังโอวาทจากพระสารีบุตรด้วย

23 คุณธรรมที่เป็นแบบอย่าง
2. เป็นผู้มีความกตัญญูกตเวทีเป็นเลิศ พระสารีบุตรเป็นผู้มีความกตัญญูกตเวที ท่านนับถือพระอัสสชิเป็นพระอาจารย์องค์แรกของท่าน เมื่อรู้ว่าพระอัสสชิอยู่ในทิศใด เวลาจะนอนท่านจะหันศีรษะไปทางทิศนั้น ท่านยังเป็นผู้ยอดกตัญญูรู้คุณแม้เพียงเพราะพรามหณ์แก่ชื่อว่าราธะซึ่งเคย ตักข้าวใส่บาตรท่านทัพพีท่านก็จำได้

24 คุณธรรมที่เป็นแบบอย่าง
3. เป็นผู้มีขันติเป็นเลิศ มีความสงบเสงี่ยมไม่คิดร้ายใคร ไม่โกรธหรือคิดตอบโต้ใคร ๆ เช่น ท่านถูกพราหมณ์คนหนึ่งซึ่งทราบว่า ท่านไม่โกรธและมีความอดทน ย่องไปทุบข้างหลังจนท่านเซไปข้างหน้า ท่านก็ไม่เหลียวมอง ทำให้พราหมณ์เกิดความสำนึกผิดและขอขมาท่าน

25 พระโมคคัลลานะ พระโมคคัลลานะ เดิมชื่อ โกลิตะ เป็นบุตรของนายโกลิตะคาม ชื่อโกลิตะเช่นเดียวกับท่าน มารดาชื่อนางโมคคัลลีเมื่อบวชแล้วพระสงฆ์เรียกท่านในนามมารดาว่า โมคคัลลานะ ท่านเป็นสหายที่สนิทกันกับอุปติสสะ ได้บวชพร้อมกับพระสารีบุตร บวชแล้วได้สำเร็จอรหันต์ก่อนพระสารีบุตร 7 วันพระโมคคัลลานะ นับแต่อุปสมบทได้ 7 วัน ไปทำความเพียรที่หมู่บ้านกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธ

26 พระโมคคัลลานะ เกิดความโงกง่วงเข้าครอบงำพระพุทธเจ้าเสด็จไปที่นั่นและทรงแสดงวิธีแก้ความ ง่วง พร้อมกับประทานโอวาทว่าด้วยความไม่ยึดมั่นถือมั่นให้ใช้ปัญญาพิจารณาเวทนา ทั้งหลายว่า เป็นอนิจจังไม่เที่ยงแท้แน่นอนท่านได้ปฏิบัติตามโอวาทที่ทรงสั่งสอนก็ได้ สำเร็จเป็นพระอรหันต์ในวันนั้นนั่นเองพระโมคคัลลานะ ได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่า “เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุอื่นในทางมีฤทธิ์”

27 คุณธรรมที่เป็นแบบอย่าง
1. เป็นผู้มีฤทธิ์มาก หมายถึงสามารถแสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ได้ ทำให้สามารถชักจูงให้เขาเหล่านั้นละการประพฤติชั่วหันกลับมาถือศีลปฏิบัติธรรมกันมากขึ้น 2. เป็นผู้มีกุศโลบายในการสอนคน เนื่องจากมีฤทธิ์มาก แต่ก็ไม่ได้ใช้ฤทธิ์พร่ำเพรื่อ ต่อเมื่อมีเหตุจำเป็นต้องใช้ท่านถึงจะใช้ฤทธิ์นั้นเป็นเครื่องมือหรือ อุปกรณ์ในการสอนคนและปราบคนชั่ว

28 นางขุชชุตตรา นางขุชชุตตรา เป็นธิดาของแม่นมของโฆษกเศรษฐีผู้เป็นบิดาเลี้ยงของพระนางสามาวดีซึ่งต่อมา กษัตริย์กรุงโกสัมภีนางขุชชุตตราได้รับมอบหมายจากเศรษฐีให้เป็นหญิงรับใช้ ประจำตัวของพระนางสามาวดีตั้งแต่ยังสาว ต่อมาเมื่อพระนางได้เป็นพระมเหสีของพระเจ้าอุเทนและเข้าไปอยู่ในราชสำนัก แล้วนางขุชชุตตราก็ได้ติดตามไปรับใช้ด้วยพระเจ้าอุเทนพระราชทานเงินค่า

29 ในฐานะเป็นผู้นำธรรมะของพระพุทธเจ้ามาแสดงทุกวันซึ่งนางก็ได้ปฏิบัติเป็นประจำ ทำให้นางเป็นผู้มีความแตกฉานในธรรมมีความเชี่ยวชาญในธรรมเป็นอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า “เป็นเลิศในทาง ธรรมกถึก”

30 พระเจ้าพิมพิสาร  พระเจ้าพิมพิสาร เป็นพระราชาแห่งแคว้นมคธ มีพระมเหสีทรงพระนามว่า เวเทหิ เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะ ได้เสด็จออกบรรพชา ได้เสด็จมาพักที่เชิงเขาปัณฑวะ แคว้นมคธ ขณะนั้นพระเจ้าพิมพิสารทรงทราบข่าว ได้เสด็จไปพบ ทรงพอพระทัยในบุคลิกลักษณะของพระสิทธัตถะเป็นอย่างมาก และได้ทูลเชิญให้ครองราชสมบัติครึ่งหนึ่งแห่งแคว้นมคธ

31 พระสิทธัตถะ ได้ตอบปฏิเสธและชี้แจงถึงจุดมุ่งหมายในการออกบวช พระเจ้าพิมพิสารจึงได้ทรงขอร้องว่า เมื่อทรงสำเร็จธรรมที่ปรารถนาแล้วขอให้เสด็จกลับมายังกรุงราชคฤห์เพื่อโปรดพระองค์บ้าง

32 ทรง แสดงธรรมเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสารพร้อมทั้งข้าราชบริพารพร้อมชาวเมือง หลังจบพระธรรมเทศนาพระเจ้าพิมพิสารได้สำเร็จมรรคผลชั้นโสดาบันทรงประกาศ พระองค์เป็นอุบาสกนับถือพระพุทธเจ้าพระเจ้าพิมพิสารได้กราบทูลถึงความ ปรารถนาของพระองค์5 ประการ แก่พระพุทธเจ้า 1. ขอให้ได้ทรงเป็นกษัตริย์แห่งแคว้นมคธ 2. ขอให้พระอรหันต์ได้มาสู่แคว้นของพระองค์ 3. ขอให้พระองค์ได้เข้าไปนั่งใกล้พระอรหันต์ 4. ขอให้พระอรหันต์ได้แสดงธรรมแก่พระองค์ 5. ขอให้พระองค์ได้รู้ธรรมของพระอรหันต์

33 คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
1. ทรงมีน้ำพระทัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ จะเห็นได้จากเมื่อพระองค์เสด็จไปพบพระสิทธัตถะ พระองค์ได้ทูลเชิญให้พระสิทธัตถะอยู่ครองราชสมบัติครึ่งหนึ่งแห่งแคว้นมคธ โดยมิทรงหวงแหนหรือตระหนี่แต่ประการใด 2. ทรงศรัทธาศาสนาพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง เห็นได้จากเมื่อพระองค์สดับพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าแสดงแล้ว ทรงมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ประกาศตนเป็นอุบาสก

34 ศาสนิกชนตัวอย่าง

35 พระมหาธรรมราชาลิไทย ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ   เพราะสุโขทัยหลังรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแล้ว     ทรงสร้างเจดีย์ที่นครชุม สร้างพระพุทธชินราชที่พิษณุโลก พญาลิไททรงคิดจะรวบรวมสุโขทัยให้กลับคืนดังเดิม แต่ก็ทรงทำไม่สำเร็จ นโยบายการปกครองที่ใช้ศาสนาเป็นหลักรวมความเป็นปึกแผ่นจึงเป็นนโยบายหลักในรัชสมัยนี้

36 คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
ทรงมีความกตัญญูอย่างยิ่ง ทรงมีความรักและกตัญญูต่อมารดาของพระองค์เป็นอย่างยิ่ง สังเกตได้จากหนังสือไตรภูมิพระร่วง ทรงมีความสามารถในการถ่ายทอดนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เนื้อหาของไตรภูมิพระร่วมกล่าวถึง ศีลธรรม จริยธรรม เรื่องสวรรค์ นรก เป็นเรื่องละเอียดอ่อนยากที่จะอธิบายให้เข้าใจได้ ทรงมีความสามารถในการถ่ายทอด ทรงทำเรื่องยากให้ง่ายได้

37 ทรงมีความคิดริเริ่มเป็นยอด วิเคาระห์ได้จากการที่ทรงบรรยายธรรมในไตรภูมิพรร่วง จะเห็นว่า ไม่เพียงมีแต่คัดลอกความคิด จากคัมภีร์พระไตรปิฎกและอรรถกถา ฎีกา เท่านั้น

38 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาชิรญาณวโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ เมื่อปี พ.ศ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงพระอิสริยยศ 22 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ พระชนมายุ 62 พรรษา

39 พระประวัติ เมื่อพระชนมายุได้ 8 พรรษา ทรงเริ่มศึกษาภาษาบาลี จนสามารถแปลธรรมบทได้ก่อนทรงผนวชเป็นสามเณร นอกจากนี้ยังทรงศึกษาภาษาอังกฤษ และโหราศาสตร์

40 มื่อทรงผนวชได้ 3 พรรษา ทรงเข้าแปลพระปริยัติธรรมหน้าพระที่นั่ง ทรงแปลได้เป็นเปรียญ 5 ประโยค จากนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส และเป็นเจ้าคณะรอง ในธรรมยุติกนิกาย เมื่อปี พ.ศ พระองค์ได้ครองวัดบวรนิเวศวิหาร

41 รงเริ่มพัฒนาการพระศาสนา โดยเริ่มต้นที่วัดบวรนิเวศวิหาร ได้แก่ริเริ่มให้ภิกษุสามเณรที่บวชใหม่ เรียนพระธรรมวินัยในภาษาไทย มีการสอบความรู้ด้วยวิธีเขียน ต่อมาจึงกำหนดให้เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับคณะสงฆ์ เรียกว่า นักธรรม ทรงจัดตั้ง มหามงกุฎราชวิทยาลัย เป็นการริเริ่มจัดการศึกษาของพระภิกษุ

42 ทรงอำนวยการจัดการศึกษาหัวเมืองทั่วราชอาณาจักรเมื่อปี พ. ศ
ทรงอำนวยการจัดการศึกษาหัวเมืองทั่วราชอาณาจักรเมื่อปี พ.ศ ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่จะขยายการศึกษา ขั้นพื้นฐานไปยังประชาชนทั่วราชอาณาจักร

43 คุณธรรมที่เป็นแบบอย่าง
ทรงมีความใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา ทรงมีความอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นเลิศ ทรงมีหิริโอตัปปะเป็นเลิศ ทรงมีความคิดริเริ่ม ทรงมีวิสัยทัศน์กว้างไกล

44 ชาดก ชาดกคือเรื่องราวของพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมี เพื่อจะไปเสวยชาติเป็นพระพุทธเจ้า ที่พระพุทธเจ้าตรัสเล่าไว้อยู่ใน สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มีทั้งหมด 547 เรื่อง มิตตวินชาดก ราโชวาทชาดก

45 มิตตวินชาดก

46 มิตตวินชาดก

47 มิตตวินชาดก

48 ราโชวาทชาดก

49 ราโชวาทชาดก

50 ราโชวาทชาดก

51 ราโชวาทชาดก

52 สรุป

53 สรุป

54 สรุป

55

56

57


ดาวน์โหลด ppt พุทธประวัติ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google