ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิธีเสาะแสวงหาซึ่งความรู้ – ความจริง
ผศ.(พิเศษ) น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
2
วิธีเสาะแสวงหาซึ่งความรู้ – ความจริง
มนุษย์มีวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ หรือมีวิธีการเรียนรู้หลายวิธี ซึ่งอาจจะจำแนกได้ดังนี้ เชื่อตามคำบอกเล่า หรือปฏิบัติต่อๆ กันมา หรือเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต (Method of Tenacity) การเรียนรู้จากผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่า หรือผู้เชี่ยวชาญ เช่น จากครู อาจารย์ (Method of Authority) การเรียนรู้ตามสัญชาตญาณ หรือลางสังหรณ์ของตนเป็นเกณฑ์ (Method of Intuition) การเรียนรู้จากการลองผิดลองถูกด้วยตนเอง (Method of trial and Error)
3
Deductive Method การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการคิดหาเหตุผล โดยการอ้างข้อเท็จจริง 2 ประการ คือ ข้อเท็จจริงใหญ่ และข้อเท็จจริงย่อย แล้วอาศัยข้อเท็จจริงสองประการเพื่อประกอบคำสรุป ซึ่งเรียกว่า “วิธีอนุมาน” (Deductive Method) เช่น (Law Conclusion) ข้อเท็จจริงใหญ่ : คนทุกคนต้องตาย ข้อเท็จจริงย่อย : นายไก่ เป็นคน คำสรุป : นายไก่ ต้องตาย ผู้เสนอวิธีการหาความรู้โดยการสรุปข้อเท็จจริงดังกล่าวข้างต้น คือ อริสโตเติล all A is B, C is A then C is B
4
Inductive Method การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการเก็บข้อมูลย่อย หรือข้อเท็จจริงย่อยเสียก่อนแล้ว ค่อยมาจัดสรรแบ่งประเภท เพื่อดูสิ่งที่เหมือนกันและต่างกัน หาความสัมพันธ์กัน แล้วค่อยแปลความหมาย จึงจะสรุปได้ ซึ่งวิธีแสวงหาความรู้เช่นนี้ เรียกว่า “วิธีอุปมาน” (Inductive Method) เช่น ข้อเท็จจริงย่อย : นายแดงเกิดเป็นคนแล้วตาย : นายขาวเกิดเป็นคนแล้วตาย : นางเขียวเกิดเป็นคนแล้วตาย ข้อสรุปรวม : ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย (ObserveConclusion) ทั้งนี้ ฟรานซิส เบคอน เป็นผู้เสนอวิธีการหาความรู้ดังกล่าว
5
การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการตั้งปัญหา
การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการตั้งปัญหา หรือข้อคำถามเรื่องนั้นๆ เสียก่อนแล้วใช้ หลักการ “อนุมาน” (Deduction) เพื่อหาคำตอบ หรือเรียกว่าสมมติฐาน เมื่อได้สมมติฐานแล้ว จึงทำการรวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบสมมติฐานนั้นๆ ว่าเป็นจริงหรือไม่ประการใด แล้วจึงสรุปผล โดยอาศัยหลักการ “อุปมาน” (Induction) ผู้เสนอวิธีการหาความรู้ด้วยเช่นนี้ คือ ชาร์ล ดาร์วิน และวิธีนี้ก็คือ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์”
6
การสังเกตของ Mendel เริ่มจากการสังเกต ดอกไม้ สีแดง สีขาว สีชมพู
คัดเลือกพันธ์แท้ RR, WW RR+WW RR, RW, RW, WW แล้วตั้งสมมติฐาน เป็นทฤษฏีทางพันธุกรรม (hereditary theory) สามารถทดลองซ้ำได้ว่าเป็นจริง
7
การสังเกตของนิวตัน แอปเปิลหล่นสงสู่พื้นโลก
โลกและแอปเปิลดึงดูดกันเช่นเดียวกันกับ ดวงอาทิตย์ดึงดูดโลก และดาวเคราะห์ โลกดึงดูดดวงจันทร์ ถ้ามีมวลสารจะมีแรงดึงดูดกัน ตั้งสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน กฎ (Law) Three Law of motion
8
Sir Isac Newton By 1679 Newton had returned to the problem of planetary orbits. The idea of a planetary attraction based on the inverse square of the distance between the Sun and the planets. This law of attraction follows, in the simple case of a circular orbit, from German astronomer Johannes Kepler’s Third Law, which relates the time of a planet’s revolution around the Sun to the size of the planet’s orbit (see Kepler’s Laws).
9
Sir Isac Newton The law of attraction also takes into account the centripetal acceleration of a body moving in a circle, given by Dutch astronomer Christiaan Huygens in The problem of determining the orbit from the law of force had baffled everyone before Newton, who solved it in about See also Mechanics: Newton’s Three Laws of Motion.
10
Newton’s first law of motion
Newton’s first law of motion states that if the vector sum of the forces acting on an object is zero, then the object will remain at rest or remain moving at constant velocity.
11
Newton’s second law relates net force and acceleration. A net force on an object will accelerate it—that is, change its velocity. The acceleration will be proportional to the magnitude of the force and in the same direction as the force. The proportionality constant is the mass, m, of the object. F = ma
12
Newton’s third law of motion
states that an object experiences a force because it is interacting with some other object. The force that object 1 exerts on object 2 must be of the same magnitude but in the opposite direction as the force that object 2 exerts on object 1.
13
การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การรวบรวมข้อมูลเพื่อพิสูจน์ สมมติฐาน และการสรุปผล ซึ่งเป็นวิธีการหาความรู้ที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ อาศัยความเป็นเหตุ เป็นผลในการแสวงหาคำตอบ และเป็นวิธีที่น่าเชื่อถือกว่าวิธีอื่นๆ
14
การวิจัย (Research) การวิจัย คือ การศึกษาเพื่อค้นหาความจริงหรือความรู้ใหม่ โดยใช้กระบวนการศึกษาที่เชื่อถือได้ (กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) มีวัตถุประสงค์เพื่อนำความรู้หรือความจริงที่ได้จากการวิจัยมา อธิบายหาสาเหตุเปลี่ยนแปลง หรือควบคุมปรากฏการณ์ในธรรมชาติ หรือพัฒนางานที่ปฏิบัติ
15
References Microsoft® Encarta® Reference Library © Microsoft Corporation.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.