ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วัสดุในการก่อสร้าง: ส่วนที่ 2/2
เรียบเรียงโดย รศ.ดร.สิทธิชัย แสงอาทิตย์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุนารี
2
วัสดุในการก่อสร้าง: ส่วนที่ 2/2 (สมบัติทางกลของวัสดุ)
- แผนภาพหน่วยแรง-ความเครียด - การวิบัติของเหล็กเหนียวและเหล็กหล่อภายใต้แรงดึง - วัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ - พฤติกรรมของวัสดุเปราะภายใต้แรงดึงและแรงกดอัด - กฎของฮุค (Hooke’s law)
3
แผนภาพหน่วยแรง-ความเครียด (Stress-Strain Diagram) ของวัสดุ
การทดสอบแรงดึง (tension test) - ใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงตั้งฉาก (σ) และความเครียดตั้งฉาก (ε) ของวัสดุ Stress: Strain:
4
Load (kN) Elongation (mm) Area (m) Stress(MPa) Strain (mm/mm)
1.227E-04 11.1 0.0175 90.45 31.9 0.0600 259.94 37.8 0.1020 308.02 40.9 0.1650 333.28 43.6 0.2490 355.28 53.4 1.0160 435.14 62.3 3.0480 507.66 64.5 6.3500 525.59 8.8900 58.8 479.14
5
โดยส่วนใหญ่ กราฟในช่วงแรกจะต้องถูกขยาย scale เพื่อให้เห็นพฤติกรรมที่ชัดเจนขึ้น
6
เหล็กโครงสร้าง
7
วิธีออฟเซท (Offset method)
ใช้ในการหาค่าหน่วยแรงคราก (yielding stress) ของโลหะที่ไม่มีจุดคราก ที่ชัดเจน เช่น อลูมิเนียมและลวดเหล็กอัดแรง เป็นต้น
8
สมบัติทางกลของวัสดุ
9
การวิบัติของวัสดุเหนียวโดยการเกิดคอคอด (necking) ก่อนการขาดจากกัน เป็นการวิบัติแบบค่อยเป็นค่อยไป (เหมาะแก่การใช้ทำโครงสร้าง)
10
การวิบัติของเหล็กเหนียวและเหล็กหล่อภายใต้แรงดึง
การวิบัติของเหล็กเหนียวเกิดจากการเลื่อน (slip) ของระนาบของผลึกของเหล็กเนื่องจากหน่วยแรงเฉือน โดยระนาบดังกล่าวทำมุม ≈ 45o กับแนวแกนของตัวอย่างทดสอบ การวิบัติของเหล็กหล่อเกิดจากการแยก (separation)ของระนาบของผลึกของเหล็ก ซึ่งเกิดจากหน่วยแรงดึงในระนาบที่ทำมุม ≈ 90o กับแนวแกนของตัวอย่างทดสอบ
11
วัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ
วัสดุเหนียว - เป็นวัสดุที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้สูงก่อนการวิบัติ เช่น เหล็กโครงสร้าง เป็นต้น (ดูดซึมพลังงานได้มาก) วัสดุเปราะ - เป็นวัสดุที่ไม่เกิดการครากหรือมีแต่น้อยมากก่อนการวิบัติ เช่น เหล็กหล่อและคอนกรีต เป็นต้น
12
พฤติกรรมของวัสดุเปราะภายใต้แรงดึงและแรงกดอัด
คอนกรีต
13
กฎของฮุค (Hooke’s Law):
ข้อจำกัดพื้นฐานในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างของวิศวกรโยธา “หน่วยแรงแปรผันโดยตรงกับความเครียด จนถึงจุด proportional limit” เมื่อ E = modulus of elasticity ของวัสดุ ซึ่งเป็นค่าความชันของเส้นกราฟในช่วง linear elastic Est = 760 MPa/0.004 mm/mm = 190 GPa
14
จบการบรรยาย ส่วนที่ 2/2
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.