ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Engineering Graphics II [WEEK4]
การเชื่อม งานเชื่อมใน Solid Work
2
การเชื่อม (Welding)
3
การเชื่อม การเชื่อมมีวัตถุประสงค์เพื่อ “ยึดต่อชิ้นงานอย่างถาวร”
การเชื่อมโลหะที่พบได้โดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ประเภทใหญ่ๆ 1. การเชื่อมแก็ส (Gas Welding) 2. การเชื่อมไฟฟ้า (Arc Welding) 3. การเชื่อมอัด (Press Welding, Resistance Welding) 4. การเชื่อม TIG (Tungsten Inert Gas Welding)
4
การเชื่อม 5. การเชื่อม MIG (Metal Inert Gas Welding)
6. การเชื่อมใต้ฟลักซ์ (Submerged Arc Welding)
5
การเชื่อมแก็ส การเชื่อมแก็สอาศัยความร้อนจากการเผาไหม้ระหว่างแก็สเชื้อเพลิงอะเซทิลีนกับออกซิเจน หลอมละลายโลหะให้ติดกันด้วยการเติมลวดเชื่อม (Filler Metal or Welding rod) หรืออาจให้เนื้อโลหะหลอมละลายติดกันเองโดยไม่เติมลวดเชื่อมก็ได้
6
การเชื่อมไฟฟ้า การเชื่อมไฟฟ้าหรืออาจเรียกว่าการเชื่อมอาร์ค (Arc Welding) เกิดจากการนำความร้อนที่ใช้ในการเชื่อมจากการเกิดประกายอาร์คระหว่างชิ้นงานและลวดเชื่อม จะทำให้ลวดเชื่อมหลอมละลายเสมือนเป็นการป้อนเนื้อโลหะให้แก่รอยเชื่อม
7
การเชื่อมอัด การเชื่อมอัดเป็นการอาศัยความร้อนจากความต้านทานไฟฟ้าและอัดให้ชิ้นงานติดกัน เนื่องจากหลักการเชื่อมนี้ทำให้มีชื่อเรียกหลายชื่อคือ Press Welding, Resistance Welding, Spot Welding เป็นต้น
8
การเชื่อม TIG การเชื่อม TIG อาศัยความร้อนที่เกิดจากการอาร์คระหว่างลวดทังสเตนกับชิ้นงานเชื่อม โดยมีแก็สเฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมดเพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทำปฏิกริยาในบริเวณรอยเชื่อม
9
การเชื่อม MIG การเชื่อม MIG อาศัยความร้อนที่เกิดจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อมกับชิ้นงาน ลวดเชื่อมที่ใช้เป็นโลหะเปลือยที่ส่งป้อนอย่างต่อเนื่อง โดยมีแก็สเฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมดเพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทำปฏิกริยาในบริเวณรอยเชื่อม
10
การเชื่อมใต้ฟลักซ์ การเชื่อมใต้ฟลักซ์จะอาศัยความร้อนจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อมเปลือยกับชิ้นงาน โดยมีฟลักซ์ชนิดเม็ด (Granular Flux) ปกคลุมบริเวณอาร์ค ฟลักซ์ชนิดเม็ดที่อยู่ใกล้รอยเชื่อมจะหลอมละลายปกคลุมบริเวณที่ทำการเชื่อมเพื่อป้องกันอากาศภายนอกทำปฏิกริยา
11
สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม
ลูกศร : ชี้บ่งตำแหน่งของรอยเชื่อม : สัญลักษณ์ให้ทำการเชื่อม ณ ที่ใช้งานจริง : ใช้บ่งบอกว่าเป็นแนวเชื่อมรอบชิ้นงาน
12
สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม
F __ A T ข้อกำหนดอื่นใดๆที่ต้องการบ่งชี้ F = วิธีการแต่งผิว __ = contour ของรอยเชื่อม A = Groove angle R = Root opening { } = สัญลักษณ์พื้นฐานของรอยเชื่อม N = Number of spot T N R Groove angle contour
13
สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม
L = ความยาวของรอยเชื่อม P = ระยะ pitch ของรอยเชื่อม (วัดจากศูนย์กลางรอยเชื่อม จนถึงศูนย์กลางรอยเชื่อมของรอยเชื่อมถัดไป) S = ขนาด Leg size T F __ A N S L-P แนวเชื่อม reinforcement Leg size (S) Throat
14
สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม
15
การเชื่อมมุม (Fillet Welding)
5 mm คือ Leg size(S) ของรอยเชื่อม 60 mm คือ ความยาวของรอยเชื่อม(L) 200 mm คือ ระยะระหว่างจุดศูนย์กลางของรอยเชื่อม(P)
16
การเชื่อมมุม (Fillet Welding)
17
การเชื่อมมุม (Fillet Welding)
แสดงการเชื่อมเป็นวงรอบชิ้นงาน
18
การเชื่อมมุม (Fillet Welding)
ด้านล่างเส้น (Arrow side) : แสดงลักษณะการเชื่อมด้านที่ลูกศรชี้ ด้านบนเส้น (Other side) : แสดงลักษณะการเชื่อมด้านที่อยู่ตรงข้ามลูกศรชี้
19
การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)
แสดงสัญลักษณ์บ่งการเชื่อมร่องรางแบบต่างๆ (a) Square butt weld (b) Single V butt weld (c) Double V butt weld (d) Single bevel
20
การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)
(a) T joint (b) U and J weld (c) Corner weld (d) Edge weld
21
การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)
22
การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)
23
ข้อกำหนด < T
24
โปรแกรม SolidWorks การเชื่อม (Welding)
25
การแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบ
เมื่อทำการวางภาพบนงานเขียนแบบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อเราต้องการแสดงสัญลักษณ์ของรอยเชื่อมตามหลักการข้างต้นทำได้โดยการเลือก Annotation -> Weld Symbol Weld Symbol จะขึ้นกับมาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ ในที่นี้ให้เราตั้งเป็น ANSI
26
การแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบ
27
การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน
การสร้างรอยเชื่อมบนชิ้นงาน(Part) ทำได้โดยเริ่มจาก Insert -> Weldments จากนั้นทำการสร้างชิ้นงานส่วนต่างๆจนเป็นที่พอใจแล้วให้กำหนด Insert -> Weldments -> Fillet Bead
28
การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน
29
การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.