งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
ที่สามารถโปรแกรมได้           PLC : Programmable Logic Controller (มีต้นกำเนิดจาก ประเทศสหรัฐอเมริกา) เป็นเครื่องควบคุมอัตโนมัติในโรงงาน อุตสาหกรรมที่สามารถจะโปรแกรมได้ ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นมา เพื่อทดแทนวงจรรีเลย์ อันเนื่องมาจากความต้องการที่อยากจะได้ เครื่องควบ คุมที่มีราคาถูกสามารถใช้งานได้อย่างเอนกประสงค์ และสามารถเรียนรู้การใช้งานได้ง่าย

2 ข้อแตกต่างระหว่าง PLC กับ COMPUTER
โรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ 2. การโปรแกรมและการใช้งาน PLC ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือน คอมพิวเตอร์ทั่วไป PLC มีระบบการตรวจสอบตัวเองตั้งแต่ช่วงติดตั้ง จนถึงช่วงการใช้งานทำให้การบำรุงรักษาทำได้ง่าย 3. PLCถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการตัดสินใจสูงขึ้นเรื่อยๆ ทำให้การใช้งานสะดวกขณะที่วิธีใช้คอมพิวเตอร์ยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น

3 ประวัติ PLC ค.ศ.1969 PLCได้ถูกพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกโดย บริษัท Bedford Associates โดยใช้ชื่อว่า Modular Digital Controller(Modicon) ให้กับโรงงานผลิต รถยนต์ในอเมริกาชื่อ General Motors Hydromantic Division บริษัท Allen-Bradley ได้เสนอระบบควบคุมโดยใช้ชื่อว่า PLC

4 ประวัติ PLC (ต่อ) ค.ศ              ได้มีการพัฒนาให ้PLC มีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้นตามการ เปลี่ยนแปลงของ Microprocessor ความสามารถในการสื่อสารข้อมูล ระหว่าง PLC กับ PLC โดยระบบแรกคือ Modbus ของ Modicon เริ่มมี การใช้อินพุท/เอาท์พุทที่เป็นสัญญาณ Analog

5 ประวัติ PLC (ต่อ) ค.ศ   มีความพยายามที่จะสร้างมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของ PLC  โดยบริษัท General Motor ได้สร้างโปรโตคอลที่เรียกว่า manufacturing automation protocal (MAP) ขนาดของ PLC ลดลงเรื่อย ๆผลิตซอฟแวร์ ที่สามารถโปรแกรม PLC ด้วยภาษา symbolic โดยสามารถโปรแกรมผ่านทาง  personal computer แทนที่จะโปรแกรมผ่านทาง handheld หรือ  programming terminal

6 ประวัติ PLC (ต่อ) ค.ศ.1990-ปัจจุบัน          ได้มีความพยายามในการที่จะทำให้ภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม PLC  มีมาตรฐานเดียวกันโดยใช้มาตรฐาน IEC1131-3 สามารถโปรแกรม PLC  ได้ด้วย                     - IL (Instruction List)                     - LD (Ladder Diagrams)                     - FBD (Function Block Diagrams)                     - SFC (Sequential Function Chart)                     - ST (Structured Text)

7 โครงสร้างของ PLC

8 หน่วยความจำของ PLC 1.  RAM (Random Access Memory) หน่วยความจำประเภทนี้จะมีแบตเตอรี่เล็กๆ ต่อไว้ เพื่อใช้เลี้ยงข้อมูลเมื่อเกิดไฟดับ การอ่านและเขียนโปรแกรมลงใน RAM ทำได้ง่ายมาก จึงเหมาะกับการใช้งานในระยะทดลองเครื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมบ่อยๆ

9 หน่วยความจำของ PLC (ต่อ)
2.  EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) หน่วยความจำชนิด EPROM นี้จะต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนโปรแกรม การลบโปรแกรมทำได้โดยใช้ แสงอัลตราไวโอเลตหรือตากแดดร้อนๆ นานๆ มีข้อดีตรงที่โปรแกรมจะไม่สูญหายแม้ไฟดับ จึงเหมาะกับการใช้งานที่ไม่ต้องเปลี่ยนโปรแกรม

10                 3.  EEPROM (Electrical Erasable Programmable Read Only Memory)
หน่วยความจำชนิดนี้ไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนและลบโปรแกรม โดยใช้วิธีการ ทางไฟฟ้าเหมือนกับ RAM นอกจากนั้นก็ไม่จำเป็นต้องมีแบตเตอรี่สำรองไฟเมื่อไฟดับ ราคาจะแพงกว่า แต่จะรวมคุณสมบัติที่ดีของทั้ง RAM และ EPROM เอาไว้ด้วยกัน

11 แสดงโครงสร้างภายในของ PLC

12 ส่วนประกอบของ PLC PLC แบ่งออกได้ 3 ส่วนด้วยกันคือ
1. ส่วนที่เป็นหน่วยประมวลผลกลาง (Control Processing Unit : CPU)

13 2. ส่วนที่เป็นอินพุต/เอาต์พุต (Input Output : I/O)

14 2. ส่วนที่เป็นอินพุต/เอาต์พุต (Input Output : I/O)

15 แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)

16 อุปกรณ์ต่อร่วม (Peripheral Devices)
• PROGRAMMING CONSOLE • EPROM WRITER • PRINTER • GRAPHIC PROGRAMMING • CRT MONITOR • HANDHELD • etc

17 PROGRAMMING CONSOLE

18 EPROM WRITER

19 PRINTER

20 GRAPHIC PROGRAMMING

21 CRT MONITOR

22 HANDHELD

23 แบบฝึกหัดที่ 1 1. จงบอกข้อแตกต่างระหว่าง PLC กับ COMPUTER 2. จงบอกโครงสร้างของ PLC ประกอบด้วยอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย 3. จงบอกอุปกรณ์ อินพุต และอุปกรณ์เอาต์พุต พร้อมหลักการทำงาน มา ประเภทละ 3 ชนิด 4. จงอธิบายคำต่อไปนี้ - ROM - RAM - EPROM - EEPROM 5. จงเขียนประวัติของ PLC


ดาวน์โหลด ppt PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google