งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
Mr.Natthapart

2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ หรือ Cambridge School
เกิดขึ้นลังจากลัทธิคลาสสิคประมาณ 114 ปี(1890) ผู้นำลัทธิคือ Marshall เป็นการอธิบายทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์และสถิติ เน้นการวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจที่แยกเป็น 2 ทาง คือ การวิเคราะห์ดุลยภาพบางส่วน และดุลยภาพทั่วไป ใช้หลักการอนุมาณ ในการพัฒนาทฤษฎี นักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญได้แก่ Alfred Marshall(1842 – 1924) J.B.Clark, Irving Fisher , Marie Espit I’eon Walras , Vifredo F.D. Pereto , Authur cecil Pigou

3 ข้อแตกต่างของลัทธิคลาสสิคใหม่กับลัทธิคลาสสิค
ทฤษฎีราคา(มูลค่า) คลาสสิค แบ่งมูลค่าออกเป็น มูลค่าการใช้งานและมูลค่าการแลกเปลี่ยน คลาสสิคใหม่ เห็นว่าราคาถูกกำหนดด้วยดุลยภาพของอุปสงค์กับอุปทาน ซึ่งต่างฝ่ายจะยึดประโยชน์สูงสุดของตนเอง การแบ่งสรรรายได้ คลาสสิค แบ่งสรรรายได้เป็น ดอกเบี้ย ค่าเช่า กำไร และค่าจ้าง คลาสสิคใหม่ กำหนดการแบ่งสรรรายได้ว่าควรจะกำหนดอย่างไร เท่าไร ลัทธิการมองในแง่ร้าย(Pessimism) Ricardo และ Maithus อธิบายกฎประชากร ในแง่ร้าย คลาสสิคใหม่ มองว่าประชากรเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ นำไปสู่การพัฒนาประเทศ

4 ทฤษฎีตลาดของ Say Say : อุปทานสร้างอุปสงค์ คลาสสิคใหม่ ในระยะสั้นไม่เกิดขึ้น แต่ในระยะยาวอาจเกิดขึ้นได้

5 Alfred Marshall(1842 – 1924) ทฤษฎีการกำหนดอุปทานและอุปสงค์
อธิบายถึงความเกี่ยวข้องด้านเวลา แบ่งออกเป็น 3 ระยะได้แก่ ระยะเพียงชั่วครู่ (momentary chang) ระยะสั้น(short run chang) ระยะยาว(long run chang) ทฤษฎีส่วนเกินผู้บริโภค(Consumer’s surplus)

6 ส่วนเกินของผู้บริโภค
ราคา ปริมาณ a b P1 A Q1 P ส่วนเกินผู้บริโภคต่อหน่วย = ส่วนที่ผู้บริโภครับ MU – P Δ ABP1 = 0P1AQ1 – oPAQ1

7 ส่วนเกินที่ผู้บริโภคได้รับ
มูลค่าทางสวัสดิการ(welfare value) ความพอใจสูงสุดที่เรามีกับสินค้านั้นหรือจะเรียนประโยชน์ที่เพิ่มเข้ามานั่นเอง(MU) ราคาที่ผู้ขายตั้งไว้สูงกว่าเป็นจริงแล้ว ยอมลดให้ผู้ซื้อ

8 ความยืดหยุ่น(elasticity
การยืดหยุ่นได้แก่ เปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่มีผู้ต้องการซื้อหารด้วยเปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลงของราคา

9 Irving Fisher ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน(Equation of Exchange) MV + M’V’ = PT

10 J.B. Clark ทฤษฎีประสิทธิผลเพิ่ม (Marginal Productivity Theory in Distribution) ประสิทธิผลเพิ่มเพิ่มเป็นตัวกำหนดมูลค่าของปัจจัยการผลิตคนงานเพิ่ม เป็นผู้กำหนดค่าจ้างมาตรฐาน

11


ดาวน์โหลด ppt ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google