งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

886201 หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "886201 หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ

2 ตัวแปร (Variable) ในโปรแกรมจะต้องกำหนดตัวแปรที่จะใช้ เพื่อจองเนื้อที่สำหรับเก็บข้อมูลในระหว่างการทำงานของโปรแกรม โดยระบุชื่อตัวแปร และชนิดข้อมูลที่จะเก็บ ชื่อของตัวแปรควรสื่อความหมาย การตั้งชื่อตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย ‘_’ ชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง ห้ามมีอักขระพิเศษ (ยกเว้น ‘_’) ชื่อตัวแปรห้ามเป็นคำสงวน เช่น main, double, return, ฯลฯ ตัวแปรที่เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เล็ก ถือว่าแตกต่างกัน (Case Sensitive)

3 ชื่อตัวแปร

4 การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร ; int count;
ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร ; ตัวอย่างเช่น int count; double area, result; char x; string name;

5 การประกาศตัวแปรพร้อมกำหนดค่าเริ่มต้น
int count = 0; double area = 0.0; char x = ‘A’; string name = “Hello”;

6 การประกาศตัวแปรแล้วกำหนดค่าภายหลัง
int number; double result; number = 5; result = number + 10; Assignment Statement

7 ข้อควรระวังในการเขียนคำสั่งกำหนดค่า
number = 5; ไม่ได้หมายถึงการเปรียบเทียบ แต่หมายถึงการนำค่า 5 ไปเก็บในตัวแปรชื่อ number result = number + 10; ไม่ได้หมายความว่า result ทางซ้าย มีค่าเท่ากันกับ number + 10 ทางขวา แต่หมายความว่า ให้นำค่าที่เก็บในตัวแปร number มาบวกกับ 10 ก่อน เมื่อได้ผลลัพธ์แล้วให้นำค่าที่ได้ไปเก็บในตัวแปรชื่อ result

8 ชนิดของตัวแปรที่เป็นตัวเลข

9 พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้

10 พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้

11 ตัวดำเนินการเลขคณิต (Arithmetic Operators)
สัญลักษณ์ ประเภทข้อมูล ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + int, float, double 2 + 3 5 - 3 - 4 -1 * 5 * 6 30 / float, double 4.50 / 3.0 1.50 int 6 / 7 % 6 % 7 6

12 โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ?
int main( ) { int A, B; float C, D; A = 3; B = 8; C = 4.5; D = 1.5; cout << “A*B = ” << A*B << endl; cout << “C*D = ” << C*D << endl; cout << “C/D = ” << C/D << endl; cout << “A DIV B = ” << A/B << endl; cout << “A MOD B = ” << A%B << endl; cout << “B MOD A = ” << B%A << endl; return 0; } โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ?

13 โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ?
int main( ) { int A, B; float C, D; A = 3; B = 8; C = 4.5; D = 1.5; cout << “A*B = ” << A*B << endl; cout << “C*D = ” << C*D << endl; cout << “C/D = ” << C/D << endl; cout << “A DIV B = ” << A/B << endl; cout << “A MOD B = ” << A%B << endl; cout << “B MOD A = ” << B%A << endl; return 0; } โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ? A*B = 24 C*D = C/D = A DIV B = 0 A MOD B= 3 B MOD A = 2

14 ตารางลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ
*** ถ้าต้องการกำหนดลำดับความสำคัญเอง ให้ใช้วงเล็บจัดกลุ่มการคำนวณตามต้องการ

15 ตัวอย่างการหาผลลัพธ์จากนิพจน์ที่กำหนด
12 % 5 * 3 6 * 20 / 2 60 16 * * 2 90 ( * 4) / 4 10 10 / 3 * 3 9 5 / 6.5

16 ตัวดำเนินการเพิ่มลด (Increment and Decrement Operators)
++x; หรือ x++; หมายถึงการกำหนดค่า x = x + 1; decrement คือการลบออก 1 โดยใช้คำสั่ง --x; หรือ x--; หมายถึงการกำหนดค่า x = x - 1;

17 increment และ decrement แบบ prefix
Prefix คือ ทำบวกหรือลบก่อน (++a, --a) แล้วจึงนำค่าใหม่ไปใช้ ++a หมายถึง a = a+1; แล้วจึงนำค่า a ไปใช้งาน --a หมายถึง a = a-1; แล้วจึงนำค่า a ไปใช้งาน

18 ตัวอย่าง a = 10; b = 10 + ++a; ได้ a = 11 และ b = 21 a = 5;
cout << “a = ” << --a << endl; แสดงผล a = 4 ค่าในตัวแปรคือ 4

19 increment และ decrement แบบ postfix
Postfix คือ ทำบวกหรือลบทีหลัง (a++, a--) นำค่าของตัวแปรไปใช้ก่อน แล้วจึงเพิ่มหรือลดค่าตัวแปร a++ หมายถึง นำค่า a ไปใช้งาน แล้วจึงคำนวณ a = a+1; a-- หมายถึง นำค่า a ไปใช้งาน แล้วจึงคำนวณ a = a-1;

20 ตัวอย่าง a = 10; b = 10 + a++; ได้ a = 11 และ b = 20 a = 5; b = a ; ได้ a = 4 และ b = 12 a = 5; cout << “a = ” << a-- << endl; แสดงผล a = 5 แต่ค่าในตัวแปร a คือ 4

21 การใช้ compound statement
+= , -= , *= , /= , %= ใช้เพื่อแทนคำสั่งที่ตัวดำเนินการตัวแรกของนิพจน์ทางขวามือของเครื่องหมายเท่ากับ คือตัวเดียวกับตัวแปรทางซ้ายมือของเครื่องหมายเท่ากับ มีความหมายดังนี้ a += 10; คือ a = a + 10; a += b; คือ a = a + b; a *= x + y; คือ a = a * (x + y); ต้องคำนวณ expression ทางขวาให้เสร็จเรียบร้อยก่อน โดยให้ใส่วงเล็บครอบไว้ด้วย

22 cout << “amount1 = ” << amount1 << endl;
int main() { double amount1 = 10000, amount2 = 5400; double vat = 0.07, pay = 0; amount1 += amount1*vat; cout << “amount1 = ” << amount1 << endl; amount2 += amount2*vat; cout << “amount2 = ” << amount2 << endl; pay += amount1; pay += amount2; cout << “pay = ” << pay; return 0; } amount1 = amount2 = pay = Output on screen

23 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ #include <cmath>

24

25

26 ตัวแปรชนิดตัวอักขระ (char)
เก็บข้อมูลเพียงหนึ่งตัวอักขระ ใช้เครื่องหมาย ' (single quote) ปิดหน้าและปิดหลัง หนึ่งอักขระใช้ 8 บิต เช่น 'a', 'C', 'D', '^', escape character เช่น ‘\n’, ‘\t’, ‘\’’, ‘\”’

27 ASCII Table

28 ความสัมพันธ์ระหว่าง char กับ int

29 สายอักขระ (String) เก็บข้อมูล 1 ตัวอักขระหรือมากกว่า
ใช้เครื่องหมาย " (double quote) ปิดหน้า และปิดท้าย เช่น "student", "diligent", "industrious“ #include <string> using namespace std; ... string name = "Harry";

30 ตัวอย่าง string fname = "Harry"; string lname = "Morgan"; string name = fname + lname; cout << name << endl; name = fname + " " + lname; ผลลัพธ์ที่ได้คือ HarryMorgan Harry Morgan

31 การหาความยาวของ string
string greeting = "Hello, World!"; H e l l o , W o r l d ! int n; n = greeting.length(); cout << “n= ” << n << endl; // n = 13

32 การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(0, 5); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "Hello"

33 การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(7, 5); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "World"

34 การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(7); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "World!"

35 การพิมพ์ตัวอักษรหนึ่งตัวใน string
H e l l o , W o r l d ! string greeting = "Hello, World!"; cout << greeting[7] << endl; // พิมพ์ตัวอักษร W ออกทางหน้าจอ

36 ตัวอย่าง

37 ตัวอย่าง


ดาวน์โหลด ppt 886201 หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google