ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSomchai Gason ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 1 สิงหาคม 2554 โรงแรมโกลเด้นซิตี้ จ.ลพบุรี
2
รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ
โครงการสาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โลกร้อน (สถานการณ์) รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ (Technology)
3
สถานการณ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในประเทศไทย (2552) (รวม = 214,000 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า)
56.1% 24.1% 7.8% 6.6% 5.4% ที่มา: องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือกกระจก จำกัด (มหาชน)
4
ลดการเกิด Gas เรือนกระจก
Global Warming Gas เรือนกระจก ( CO2 : CH4 = 21: 1 ) ลดการเกิด Gas เรือนกระจก CH4 พลังงานทดแทน ของเสีย ใช้ประโยชน์
5
แนวคิดการจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ
น้ำเสีย การใช้ประโยชน์จากน้ำเสีย อุจจาระ พลังงาน- ปุ๋ย ปัสสาวะ ปุ๋ย ของเสีย ขยะเปียก พลังงาน-ปุ๋ย Sanitation Technology ขยะแห้ง การกลับมาใช้ใหม่ มูลสัตว์ พลังงาน- ปุ๋ย ขยะอันตราย กำจัดอย่างถูกวิธี
6
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริมให้สถานบริการสาธารณสุขดำเนินงานลดโลกร้อน ภายใต้ GREEN & CLEAN 2 เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นแบบอย่างการดำเนินการลดโลกร้อน 3 เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับบุคลากรในเรื่องโลกร้อนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
7
พื้นที่เป้าหมาย สถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล สถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลในสังกัดกรมวิชาการ
8
เป้าหมายความสำเร็จ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาล ทุกแห่ง
ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกแห่ง โรงพยาบาล อำเภอละ 1 แห่ง สถานีอนามัย โรงพยาบาล 84 แห่ง (ศูนย์อนามัย 12 ศูนย์ โรงพยาบาล 72 แห่ง) สถานีอนามัย 84 แห่ง
9
เป้าหมายกิจกรรม(Green)
garbage การจัดการมูลฝอยและการใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล
11
rest room การจัดการส้วมให้ได้มาตรฐาน HAS
12
energy ประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทนจากชีวภาพ
13
environment การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
14
Nutrition การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ รณรงค์ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง
15
C L A E N Communication การสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความเข้าใจ
Leader สร้างบทบาทนำ เพื่อเป็นตัวอย่างในการดำเนินงาน Effectiveness ให้บังเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ Activity สร้างกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำนึกอย่างมีส่วนร่วม Networking ร่วมกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน กลยุทธ์หลัก Clean C L A E N
16
C : Communication
17
L : Leadership
18
E : Effectiveness
19
A : Activities
20
N : Networking
21
ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อนด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน GREEN CLEAN HOSPITAL SuSan Strategy Setting ชุมชน อสม & Net work ทำอะไร ทำอย่างไร ทำที่ไหน การขยายผล ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน
22
ตัวอย่างกิจกรรม
23
ลดขยะด้วยการทำ BIOGAS
24
ลดการใช้พลังงาน กับ ราวตากผ้าอัจฉริยะ
25
น้ำหมักชีวภาพประโยชน์ขยะอินทรีย์
26
กำจัดขยะอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดิน
27
ธนาคารขยะสร้างรายได้
29
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ปี 2554
GREEN กิจกรรมสร้างจิตสำนึก เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยใช้ CF เป้าหมาย -Zero Waste -Zero Emission -Zero Carbon เริ่ม พัฒนา วิสัยทัศน์
30
เป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2554
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข อำเภอละ 1 แห่ง รพสต. หรือ PCU หรือ สอ. อำเภอละ 1 แห่ง “เข้าร่วมโครงการฯ และดำเนินกิจกรรมครบ GREEN”
31
แนวทางการพัฒนาโครงการฯ
สมัครร่วมโครงการ ดำเนินกิจกรรม GREEN รพ.ร่วมลดโลกร้อน เป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพโดยใช้ Carbon Footprint รพ.ลดโลกร้อน Zero Waste Zero Emission Zero Carbon VISION Goal -อบรม กลุ่มเป้าหมาย -เผยแพร่วิชาการ -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ให้คำปรึกษาแนะนำ -พัฒนา CF -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -อบรม CF -นิเทศ ติดตาม -พัฒนา Susan. -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ใช้ CF ประเมิน -นิเทศ ติดตาม -พัฒนา Susan -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ประเมินความสำเร็จ -พัฒนาศูนย์เรียนรู้
32
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน
เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) ส่งเสริมให้ภาค สธ. แสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย GHG เน้นกิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกับกิจกรรมอื่นๆ (ได้แก่กิจกรรม GREEN) เป็นเครื่องมือในการลด GHG หาปริมาณ Carbon Footprint เพื่อใช้เป็นดัชนีชีวัดความสำเร็จและเป็นเครื่องมือการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
33
คำนวณหาจำนวน CF กิจกรรมทั้งหมด เมื่อเริ่มโครงการฯ เพื่อกำหนดปีฐาน
วิเคราะห์แหล่งกำเนิด GHG เพื่อหาทางลดการปล่อย GHG คำนวณหาจำนวน CF หลังจากการดำเนินงาน นำมาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีฐาน วิเคราะห์แหล่งกำเนิด GHG เพื่อหาทางลดการปล่อย GHG คำนวณหาจำนวน CF หลังจากการดำเนินงาน นำมาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีฐาน กำหนดแนวทางการดำเนินงานในปีต่อไป
34
การรับรองเป็น ร.พ./สอ. ร่วมลดโลกร้อน
สถานพยาบาลดำเนินกิจกรรม GREEN ครบ แจ้งศูนย์อนามัยประเมิน มอบป้ายลดโลกร้อน โดยศูนย์อนามัย
35
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
37
การประกาศความสามารถในการลด CO2
สถานพยาบาลประเมิน carbon footprint เปรียบเทียบกับปีฐาน&แจ้งศูนย์อนามัยเพื่อรับรอง ศูนย์อนามัยมอบป้าย carbon footprint
38
สิ่งสนับสนุน 1. คู่มือการดำเนินงานโครงการสาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน 2. คู่มือลดโลกร้อน 3. หนังสือเอกสารวิชาการ การจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะไทย (HAS) 5. คู่มือสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน 6. แผ่นพับไส้เดือนดิน กำจัดขยะอินทรีย์
39
สิ่งสนับสนุน 7. แผ่นพับโครงการสาธารณสุขรวมใจลดโลกร้อน 8. แผ่นพับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและเอื้อต่อสุขภาพ 9. แผ่นพับการจัดการมูลฝอย 10. แผ่นพับน้ำหมักชีวภาพ 11.แผ่นพับก๊าซชีวภาพ 12. แผ่นพับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม น้อมนำพอเพียง 13. โปสเตอร์สาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน 14. คู่มือประชาชน ร่วมลดโลกร้อนด้วยสองมือเรา
40
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.