ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน หมายถึง การแสวงหาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อจะทราบรายละเอียดแห่งความผิด
2
การสืบสวน สอบสวน การสอบสวน
การสืบสวน สอบสวน การสอบสวน หมายถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนินการทั้งหลายอื่น ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้กระทำไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหาเพื่อจะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิดและเพื่อจะเอาตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ
3
กรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
กรณีที่จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน กรณีกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง กรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง หมวด ๖ วินัยและการรักษาวินัย มาตรา ๘๒ - ๙๕
4
กรณีที่อาจไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
(ข้อยกเว้นตาม ม. ๙๘ วรรค เจ็ด) ๑. ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก ๒. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันเกินกว่า ๑๕ วัน ๓. รับสารภาพเป็นหนังสือ ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง
5
การแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ผู้ถูกกล่าวหา ๑. ให้ลงลายมือชื่อและวันที่รับทราบคำสั่ง ๒. มอบสำเนาคำสั่ง ๓. ส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ พ้น ๑๕ วัน ถือว่ารับทราบ
6
การคัดค้านกรรมการสอบสวน
- ทำเป็นหนังสือ - แสดงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย - ยื่นต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ภายใน ๗ วัน
7
เหตุคัดค้านคณะกรรมการ
๑. รู้เห็นเหตุการณ์ในขณะกระทำความผิด ๒. มีประโยชน์ได้เสียในเรื่องที่สอบสวน ๓. มีสาเหตุโกรธเคืองกับเรื่องที่สอบสวน ๔. เป็นผู้กล่าวหา คู่หมั้น คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน พี่น้องร่วม บิดา มารดา หรือร่วมแต่บิดามารดา เป็นลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียง สามชั้น เป็นญาติเกี่ยวพันทางการแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น ของผู้กล่าวหา ๕. เป็นเจ้าหนี้ ลูกหนี้ ของผู้กล่าวหา ๖. มีเหตุอื่นทำให้การสอบสวนเสียความเป็นธรรม
8
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา
๑. คัดค้านกรรมการสอบสวน ๒. มีสิทธิขอทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ ๓. นำพยานหลักฐานมาสืบแก้ข้อกล่าวหา ๔. ขอตรวจเอกสารหรือพยานหลักฐาน ๕. มีสิทธิได้รับการแจ้งข้อกล่าวหา ว่ากระทำผิดกรณีใด ตามมาตราใดและสรุปพยานหลักฐานเท่าที่มี ๖. ยื่นคำชี้แจงเป็นหนังสือภายใน ๑๕ วัน
9
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา
๗. ก่อนคณะกรรมการจะเสนอสำนวนการสอบสวน หากมี เหตุอันสมควร ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิยื่นคำชี้แจงหรือให้ถ้อยคำ เพิ่มเติม ๘. ในการสอบสวนมีสิทธิที่จะไม่ถูกขู่เข็ญ หลอกลวง ให้คำมั่น สัญญา จูงใจ หรือกระทำการมิชอบด้วยประการใด ๆ ๖. กรณีถูกสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง มีสิทธินำทนายความ หรือที่ปรึกษาเข้าร่วมฟังการสอบสวนได้
10
วิธีการสอบสวน ๒. แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (แบบ สว. ๒)
๑. ประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาดำเนินการสอบสวน ๒. แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (แบบ สว. ๒) ๓. รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวหา ภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ที่ดำเนินการตามข้อ ๒ ๔. แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน (แบบ สว. ๓) ภายใน ๑๕ วันนับแต่ดำเนินการตามข้อ ๓ แล้วเสร็จ
11
วิธีการสอบสวน (ต่อ) ๖๐ วันนับแต่วันที่ดำเนินการตามข้อ ๔ แล้วเสร็จ
๕. รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้าง ภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ดำเนินการตามข้อ ๔ แล้วเสร็จ ๖. ประชุมพิจารณาลงมติและทำรายงานเสนอผู้สั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่ ดำเนินการตามข้อ ๕ แล้วเสร็จ
12
การขอขยายเวลา กรณีที่คณะกรรมการสอบสวนไม่สามารถดำเนินการสอบสวนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กำหนดในแต่ละขั้นตอนและไม่อาจดำเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ขอขยายเวลาการสอบสวนต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการได้ครั้งละ ไม่เกิน ๖๐ วัน
13
การขอขยายเวลา วินัยไม่ร้ายแรง
ขอขยายได้ครั้งละ ไม่เกิน ๓๐ วัน ขอขยายได้ครั้งละ ไม่เกิน ๖๐ วัน วินัยร้ายแรง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.