ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTanupat Monkoltham ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
โดย ดร.อรัญ โสตถิพันธุ์
2
ความหมายของความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
โอกาสที่ผลผลิตของการดำเนินงานไม่บรรลุผลลัพธ์ อันเนื่องมาจากการขาดหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการ แบ่งเป็น ความเสี่ยงจากการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ความเสี่ยงด้านการตอบสนองความต้องการที่แท้จริง ของประชาชน (Negotiation Risk)
3
ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ประเภทของความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล สาเหตุ ความสอดคล้อง 1. ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 1.1) เนื้อหาของแผนงาน-โครงการไม่ตอบสนองต่อประเด็นยุทธศาสตร์หรือนโยบายของจังหวัด กลุ่มจังหวัดและรัฐบาล หลักภาระรับผิดชอบ 1.2) ขาดการประสานการดำเนินงานระหว่างภาคีหุ้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับผลสำเร็จอย่างยั่งยืนของแผนงาน-โครงการ หลักการมีส่วนร่วม 2. ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ขาดความรับผิดชอบต่อการใช้งบประมาณจำนวนมากให้เกิดความคุ้มค่าโดยมีกลไกที่พอเพียงในการตรวจสอบประเมิน จนอาจส่งผลให้เกิดผลกระทบทางลบจากสื่อมวลชนได้ หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่า 3. ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) 3.1) ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ได้รับประโยชน์โดยตรงต่อแผนงาน-โครงการ 3.2) การดำเนินงานตามแผนงาน-โครงการ มิได้กระจายผลประโยชน์ที่ถูกต้อง ชอบธรรมไปยังภาคส่วนที่ควรได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง
4
เหตุผลความจำเป็น เพื่อสร้างหลักประกันว่า การของบประมาณของส่วนราชการ มีความ รอบคอบรัดกุมโดยคำนึงถึงมาตรการป้องกันและแก้ไขโอกาส ผิดพลาดหรือความเสี่ยงเป็นการล่วงหน้า ดังนั้น การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล จึงมิใช่เป็นการ ประจานข้อบกพร่องจนบั่นทอนโอกาสที่จะได้รับงบประมาณ ในทาง ตรงกันข้าม ทำให้การของบประมาณ มีความหนักแน่น น่าเชื่อถือมาก ยิ่งขึ้น การหามาตรการป้องกันและจัดการกับโอกาสผิดพลาดไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย คือ สิ่งที่ “ควรกระทำ” ควบคู่กับการ “วางแผน” อยู่แล้ว แสดงให้เห็นถึง การปฏิบัติราชการด้วยระบบภูมิคุ้มกันที่ดี เพื่อสร้างหลักประกันว่า ระบบการตรวจราชการ จะสามารถมีบทบาท ในการลดความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลได้ตามข้อมูลที่ส่วนราชการ ได้มีการวิเคราะห์ไว้แล้วล่วงหน้า
5
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
คัดเลือกโครงการที่มีความสำคัญสูง ระบุประเภทของความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล ให้ค่าคะแนนโอกาสและระบุปัจจัยเสี่ยง ให้ค่าคะแนนผลกระทบและอธิบายขนาดของ ผลกระทบ คำนวณดัชนีความเสี่ยง กำหนดแนวทางจัดการความเสี่ยง
6
เป้าประสงค์ของการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล คือ การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้บริหารโครงการที่มีความสำคัญและความเสี่ยงมาก สำคัญมาก สำคัญมาก/ความเสี่ยงน้อย โครงการสำคัญ สำคัญน้อย/ความเสี่ยงน้อย สำคัญน้อย/ ความเสี่ยงน้อย ความเสี่ยงน้อย ความเสี่ยงมาก สำคัญน้อย
7
ขั้นตอนที่1-คัดเลือกโครงการที่มีความสำคัญสูง
ชื่อโครงการ เกณฑ์การคัดเลือก อันดับความสำคัญ (4) หากผิดพลาดจะส่งผลกระทบต่อประเด็นยุทธศาสตร์ของกระทรวงและรัฐบาลเพียงใด? (1-5) (3) เป็นโครงการที่มีการริเริ่มปรับปรุงใหม่เพียงใด? (2) ใช้งบประมาณสูงเพียงใด? เมื่อเปรียบเทียบกับโครงการอื่น (1) นำไปปฏิบัติครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัดเพียงใด? เมื่อเปรียบเทียบกับโครงการอื่น 1.โครงการสร้างผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ 5x4=20 4x3=12 4x2=8 5x1=5 45
8
ขั้นตอนที่2-ระบุประเภทของความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม กระทรวง ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk)
9
ขั้นตอนที่3-ให้ค่าคะแนนโอกาสและระบุปัจจัยเสี่ยง
ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม กระทรวง ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง
10
ขั้นตอนที่4-ให้ค่าคะแนนผลกระทบและอธิบายขนาดของผลกระทบ
ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม กระทรวง ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่สามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายความรู้ระหว่างชุมชน 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่มีส่วนร่วมในการผลักดันแผนแม่บทชุมชนไปสู่การปฏิบัติจริงร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
11
ขั้นตอนที่5-คำนวณดัชนีความเสี่ยง
ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม กระทรวง ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่สามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายความรู้ระหว่างชุมชน 8 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่มีส่วนร่วมในการผลักดันแผนแม่บทชุมชนไปสู่การปฏิบัติจริงร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
12
แนวทางจัดการความเสี่ยง
หลีกเลี่ยง-คือ การตัดสินใจลดหรือระงับกิจกรรมการ ดำเนินงาน ยอมรับ-คือ การตัดสินใจดำเนินงานตามกิจกรรมนั้น โดย ไม่กำหนดแนวทางจัดการความเสี่ยงเนื่องจากมั่นใจว่า ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่รับได้ ควบคุม-คือ การหามาตรการลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ รับได้ ถ่ายโอน-คือ การให้หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลอื่นดำเนิน กิจกรรมที่มีความเสี่ยงนั้นๆ แทน เนื่องจากเล็งเห็นว่า สามารถดำเนินการได้ดีกว่า คล่องตัวกว่าและด้วยเหตุ ดังนั้น จึงจัดการกับความเสี่ยงได้ดีกว่า
13
ขั้นตอนที่6-กำหนดแนวทางจัดการความเสี่ยง
ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม กระทรวง ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่สามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายความรู้ระหว่างชุมชน 8 ควบคุม-จัดตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ร่วมกันระหว่างผู้แทนภาครัฐ เอกชนและ ปราชญ์ชาวบ้านในระดับอำเภอ 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่มีส่วนร่วมในการผลักดันแผนแม่บทชุมชนไปสู่การปฏิบัติจริงร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคุม-เปิดโอกาสให้ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายและผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกันรวบรวมปัญหาความต้องการของชุมชน 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ถ่ายโอน-จัดสรรงบประมาณให้สถาบันการศึกษาในพื้นที่ ดำเนินการประชาสัมพันธ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.