งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หัวข้อที่จะบรรยาย แนวโน้มเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หัวข้อที่จะบรรยาย แนวโน้มเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 หัวข้อที่จะบรรยาย แนวโน้มเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
แรงกดดันที่มีต่อการดำเนินงานของห้องสมุด นิยามห้องสมุดเสมือน ห้องสมุดดิจิตอล พื้นฐานโครงสร้างห้องสมุดดิจิตอล นโยบาย กลยุทธ์และแนวทางในการจัดการห้องสมุดดิจิตอล ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ และห้องสมุดเสมือน ตัวอย่างดำเนินงาน อนาคต

3 การเรียนรู้สมัยใหม่ย่อมใช้ไอซีทีเป็นเครื่องมือ
หลังจากปี 2000 พลังแห่งไอซีทีได้กดดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ครั้งยิ่งใหญ่ มีนวัตกรรมใหม่ทั้งตัวไอซีทีเอง และรูปแบบการเรียนรู้ด้วย Electronic model ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และการบริการข่าวสารต่างๆ และนี่เป็นที่มาของ “นโยบาย กลยุทธ์ และแนวทางในการจัดการห้องสมุดดิจิตอล “ ในรูปแบบใหม่ที่ใช้เทคโนโลยี

4 แนวโน้มโลกที่น่าสนใจ
ยุคอุตสาหกรรม ความสำเร็จ = ขนาด+ขอบเขต Top Down - Centralized รวมกันในแนวดิ่ง การใช้ข้อมูลแบบของใครของมัน เน้นที่ตนเอง ความสัมพันธ์ในมุมแคบ ทำและขายเป็นหลัก มุ่งเน้นภายในองค์กร ยุคสารสนเทศ ความสำเร็จ = การปรับตัว + ความว่องไว ขีดความสามารถและพลังอยู่ที่ “Edges” รวมกันแบบ Virtual แบ่งปันกันใช้ข้อมูล เพิ่มความโปร่งใสการใช้ข้อมูล ทำงานร่วมกัน และ ใช้พลังร่วม รับรู้และตอบสนองเร็ว เชื่อมโยงกับภายนอก ตัวเร่งด้วยนวัตกรรมและความคิดใหม่ กฎระเบียบใหม่ พฤติกรรมใหม่ แก่นความสนใจใหม่ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างกันแบบใหม่

5 คลื่นการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู้ เป็นคลื่นที่ยิ่งใหญ่

6 คลื่นลูกใหม่ที่สำคัญคือ คลื่นแห่งเทคโนโลยี www ที่เชื่อมโยงและเป็นขุมความรู้ขนาดใหญ่

7 อินเทอร์เน็ตทำให้โครงสร้างข้อมูลความรู้เปลี่ยนไป
เป็นแรงกดดันทางวัฒนธรรมและสังคม

8 พัฒนาการการใช้ไอซีที : บนพื้นฐานของการใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง
พัฒนาการการใช้ไอซีที : บนพื้นฐานของการใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง As I said previously, the transition to eBusiness for an SME is more a journey than a single event. In most cases, this journey can be characterised in terms of progression through a number of key steps in adopting ICT. The eAdoption ladder model, well known, shows the progression from a basic system to the most sophisticated organisational model. Surveys show positions on the ladder vary by size, sector and geographical location but most of the European SME are on the lower rugs of this ladder. However, the integration of computers, interfaces and networks into everyday environment – the Ambient Intelligence vision – raises new challenges and opportunities for enterprises and makes our ambition possible. The longer term view is that by 2020 global competitiveness of industry will depend to a significant extent on the existence of poles of competence, consisting of enterprises and research institutes seamlessly interlinked and also connected to billions of chip-based devices. The challenge for Europe is therefore to establish firmly some of these poles of competence on its soil. This is why it became crucial to analyse the specificities of our economic landscape mostly populated by European SMEs.

9 บนโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา : การรวมแบบไซเบอร์กับ local clusters ในระบบเศรษฐกิจฐานความรู้
มีความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น ใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีมากขึ้น วิจัยและพัฒนา / สร้าง innovation มากขึ้น ทำงานร่วมกัน สื่อสารระหว่างกันมากขึ้น เข้าถึงความรู้ได้มากขึ้น การเชื่อมกันเป็นกลุ่ม ทำงานร่วมกัน การเชื่อมระหว่างกลุ่ม กลุ่มแบบ Virture นิเวศน์อิเล็กทรอนิกส์ Ecosystem จะเข้าสู่โลกไซเบอร์สเปซได้อย่างไร ? จะเอาชนะความซับซ้อนที่มีเพิ่มขึ้นได้อย่างไร ? จะอยู่ในสังคมใหม่ แบบ ecosystem ในอนาคตอย่างไร?

10 ICT กับ ห้องสมุด และ ecosystems
รูปแบบแนวคิด: “… การเปลี่ยนแปลงเครือข่ายของการทำงานในองค์กรเกิดขึ้นอย่างช้าๆและต่อเนื่อง ทำให้เกิดโครงสร้างการเชื่อมโยงแบบเนื้อเดียวกัน ทำให้เกิด alliances, partnership และการทำงานแบบ collaborations”... “…สร้างสังคมแบบที่มีการ share business, knowledge and infrastructure”(1) “เพื่อสนับสนุนแนวคิดนี้ จำเป็นต้องให้ความสำคัญของการใช้ข้อมูลข่าวสาร การบริการ และการทำงานร่วมกันในการสร้างห้องสมุดเสมือนจริง ด้วยการปรับใช้เทคโนโลยีไอซีที และโครงสร้างพื้นฐานทางเครือข่าย ในรูปแบบการพัฒนาเพื่อเปลี่ยนวิถีการทำงานใหม่ให้สอดคล้องกับระบบนิเวศน์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บังเกิดผลสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมที่กำลังเปลี่ยนไป” “Towards a Network of digital business ecosystems fostering the local development ” (EC, Discussion paper, 2002)

11 Digital Ecosystem เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
ทางการให้บริการของห้องสมุดอย่างไร? การเจริญงอกงาม การแข่งขัน, ประสิทธิภาพ การเรียนรู้แบบใหม่ ที่เข้าถึงความรู้ ได้มากและเร็ว improve lead to encourage provide resources ICTs catalyse improve “โครงสร้างของ Digital Ecosystem พัฒนาการโครงสร้าง พื้นฐานแบบเปิด make viable shape & foster supports support ความรู้ เทคโนโลยี enhances โครงสร้างห้องสมุดใหม่ & รูปแบบโมเดล E นโยบาย supports ดัดแปลงจาก P.Dini - London School of Economics

12 Digital Ecosystemมีผลต่อห้องสมุดอย่างไร ?
วิถีชีวิตขึ้นกับ “digital environment” มากขึ้น Ecosystems สนับสนุนการเรียนรู้ให้เกิดการเรียนรู้ แบบใหม่ การจัดการห้องสมุดเกี่ยวโยงกับ “digital components” มากขึ้น ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและ เร็ว ห้องสมุดมีการปรับตัวและพัฒนาตามวิถีชีวิตและ สิ่งแวดล้อมซึ่งเกี่ยวโยงกับการใช้software, applications, services, knowledge, กระบวนการ ทำงาน และรูปแบบ models, training modules, laws ... เครือข่ายคอมพิวเตอร์และเว็บทำให้เกิดนวัตกรรมการเรียนรู้แบบใหม่ๆมากมาย ทำให้การเรียนรู้เปลี่ยนไปจากเดิมมาก ห้องสมุดจึงต้องรีบพัฒนาตาม

13 งานพัฒนาห้องสมุดที่ต้องเกี่ยวโยงกับ Ecosystems
การสร้างรูปแบบการบริการ Basic Models และ Services วิถีชีวิตกับไอซีที “life support structure” ชิ้นส่วนความรู้ที่เก็บใน รูปดิจิตอล โครงสร้างพื้นฐานทาง Internet และ Web เทคโนโลยีไอซีที เครือข่าย โครงสร้างพื้นฐาน งานวิจัยและพัฒนา เกี่ยวกับ การศึกษา สังคมฐานความรู้ Knowledge Economy การเรียนรู้ในบริบท Ecosystems แห่ง digital Economies การวางโมเดลใหม่ ทางด้านการเรียนรู้ E-Services e-Economic behaviour การเรียนรู้แบบใหม่ ในเนื้อหาและบริบทใหม่ที่ เกียวกับดิจิตอล การนำเอาความรู้ มาใช้กับรูปแบบ ใหม่ที่ใช้ไอซีที

14 นิยามห้องสมุดเสมือนจริง
ห้องสมุดที่ไม่ขึ้นกับสถานที่ เวลาการให้บริการ และระยะทาง การบริการทางดิจิตอล การแทนสื่อ ความรู้ต่างๆด้วยดิจิตอล ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ หลากรูปแบบ อยู่ในเครือข่าย การใช้ไอซีทีช่วยในการให้บริการ ใช้ Network centric กล่าวคือทุกอย่างอยู่ในเครือข่าย การบริการเสมือนจริง ใช้หลักการและมาตรฐานที่กำลังพัฒนาบนเว็บ 2.0 มีการร่วมมือและแบ่งปันการใช้งาน ตลอดจนการสร้างขุมความรู้ที่มีมาก และสร้างขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว่าเดิมมาก

15 คลื่นลูกที่สาม ของอินเทอร์เน็ต

16 คลื่นสามลูกของอินเทอร์เน็ต
คลื่นลูกแรกเน้นการให้บริการข้อมูลในรูปแบบตัวอักษร ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่น และการโอนย้ายไฟล์แบบ FTP. คลื่นลูกที่สองคือเว็บที่พัฒนาต่อมาเพื่อให้ใช้งานง่ายขึ้นและใช้สำหรับการสื่อสารรูปภาพ เสียง วิดีโอ ตลอดจนการนำเสนอที่น่าดูเหมือนกระดาษจริงมากขึ้น คลื่นลูกที่สามเป็นการรวมกันบนเครือข่ายแบบ grids, p2p (peer to peer), open source, การคำนวณแบบกระจาย การใช้ web services, และพัฒนาเป็น Web 2.0

17 กริดและคลื่นลูกที่สาม
ความซับซ้อน ของข้อมูล ซีแมนติก เว็บ คลื่นลูก ที่สาม เว็บ เซอร์วิส กริดแบบ พื้นฐาน ความซับซ้อนของการประมวลผล ที่มา Toney Hey UK eScience Grid

18 เครือข่ายในทุกวันนี้
เครือข่ายเป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการ โปรแกรมประยุกต์ โอเอส ข้อมูล เครือข่าย ผู้ใช้ โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานผูกติดกับโอเอสของเครื่อง เครือข่ายเป็นกลไกการสือสารระหว่างกัน

19 เครือข่ายในคลื่นลูกที่สามที่มีผลต่อการบริการห้องสมุด
โปรแกรมและข้อมูลการให้บริการห้องสมุดอยู่บนเครือข่ายไม่ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครือข่าย โปรแกรมประยุกต์และข้อมูล โอเอส ข้อมูล คลื่นลูกที่สาม คอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งชองการให้บริการเครือข่าย

20 โครงสร้างของคลื่นสามลูกกับห้องสมุด
คลื่นลูกที่หนึ่ง เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องมีโปรแกรมประยุกต์ของตัวเองต่อเชื่อมกับอินเทอร์เน็ต ห้องสมุดยังเป็นห้องสมุดแบบ real และ local เครือข่ายเป็นส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในห้องสมุด คลื่นลูกที่สอง การบริการและการเข้าถึงข้อมูลของห้องสมุดใช้ web ตัวอย่างเช่น ห้องสมุด ข้อมูล เนื้อหา และโปรแกรมประยุกต์อยู่ในตำแหน่งชัดเจน เจาะจง เครือข่ายและคอมพิวเตอร์เป็นหุ้นส่วนกันทำงานร่วมกัน เริ่มแนวคิดแบบห้องสมุดจริงกับ virtual เสมือนการวางซ้อนตำแหน่งกัน คลื่นลูกที่สาม ข้อมูล เนื้อหา ชิ้นส่วนดิจิตอลแยกจากกันกับโปรแกรมประยุกต์ และแยกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ และตำแหน่งจริง คอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย ข้อมูล และโปรแกรมประยุกต์ วางอยู่ใน “cyberspace” เครือข่ายเป็นเสมือน platform ห้องสมุดมีลักษณะเป็นแบบ Virtual ใช้ข้อมูลและโปรแกรมแบบ virtual

21

22 พื้นความรู้เกี่ยวข้องกับ Web 2.0 ที่นักสารสนเทศควรรู้
สำหรับการสร้างห้องสมุดเสมือนจริง

23 แผนผังเว็บ 2.0 ที่มา

24 นิยามของเว็บ 2.0 เว็บ 2.0 เป็น platform ,ที่อาศัยอุปกรณ์ที่อยู่ในเครือข่ายเป็นตัวช่วยทำงานให้ การใช้งาน และการประยุกต์ต่างๆอาศัยอุปกรณ์ทำงานร่วมกันในเครือข่ายที่เป็นเนื้อเดียวกัน ทำให้การทำงานต่างๆไม่ขึ้นกับคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ ข้อมูล โปรแกรมได้รับการจัดวางไว้ในเครือข่าย ผู้ใช้เรียกเข้าหาหรือใช้งานได้ทุกสถานที่ ไม่จำกัด ขอให้เข้าถึงและเชื่อมต่อกับเครือข่ายเท่านั้น ข้อมูลข่าวสารที่เรียกใช้ มีการผสมผสานของข้อมูลหลายรูปแบบได้ จึงทำให้เครือข่ายเหมือนเป็นแพลตฟอร์มให้ผู้ใช้ใช้งาน ดัดแปลงจาก:Tim O'Reilly, “Web 2.0: Compact Definition?”

25 ลองดูจากสิ่งที่อยู่บนเว็บขณะนี้

26

27 ชิ้นส่วนต่างๆที่ประกอบอยู่ในเว็บ 2.0 ที่นำมาใช้สร้างห้องสมุดเสมือนจริง
ที่มา: Dion Hinchliffe, “Review of the Year's Best Web 2.0 Explanations” Web 2.0 Journal

28 การสร้างเอกสารอิเล็กทรอนิกส์แบบสวยงาม
CSS Content with Style การสร้างเอกสารอิเล็กทรอนิกส์แบบสวยงาม

29

30

31 Really Simple Syndicate
RSS Really Simple Syndicate การบริการสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบส่งถึงตัวที่ปลายทาง เป็นการสร้างมาตรฐานการกระจายข่าวสารแบบอัตโนมัติ โดยมีการทำงานแบบเชื่อมโยงข่าวสาร และมีโปรโตคอลการส่งข่าวสารแบบกระจายเข้าหากัน

32 ตัวอย่างการ casting ด้วย RSS

33 การเรียกข้อมูลด้วย RSS

34 การใช้ออปเจ๊ก และการรวมชิ้นส่วนบนเว็บ

35

36

37

38 การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร แบบ pear to pear

39 ตัวอย่างการรับส่งสื่อแบบ pear to pear: bit torrent การกระจายอิเล็กทรอนิกส์

40 การสร้างห้องสมุดเสมือนจริง บนเว็บ 2.0

41 การให้บริการแบบ Wiki กับห้องสมุดเสมือนจริง
เป็นการนำโปรแกรม Wikimedia ให้บริการความรู้บนเครือข่าย เป็นเว็บที่ให้บริการแบบต้องช่วยกันทำงาน ช่วยกันป้อนข้อมูลข่าวสาร เนื้อหา

42 การใช้คลังความรู้บนเครือข่าย

43 ทางออกปัญหาทางด้านลิขสิทธิ์

44 ตัวอย่างการค้นหางานสร้างสรรค์ แบบ CC (Creative Common)

45 กับการใช้งานแบบเว็บเซอร์วิส
ห้องสมุดเสมือนจริง กับการใช้งานแบบเว็บเซอร์วิส

46 พื้นฐานเว็บเซอร์วิส ขอใช้บริการข่าวสาร บริการข้อมูล ข่าวสาร
เครือข่ายเว็บเซอร์วิส Security Reliability QoS Billing เครือข่ายเว็บเซอร์วิส ทำหน้าที่เป็นตัวกลางการให้บริการข้อมูล

47 ข้อพิจารณาที่ต้องคำนึง
การบริการของห้องสมุดเสมือนจริง อยู่บนพื้นฐานการบริการปลายทาง โดยมีเครือข่ายเป็นศูนย์กลาง และเน้นการเข้าหาจากปลายทาง ข้อพิจารณาที่ต้องคำนึง ต้องเลือกทฤษฎีและเทคโนโลยีให้ถูก ประยุกต์การให้บริการแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างกว้างขวาง เน้นการใช้เครือข่ายเป็นตัวเชื่อมการให้บริการ ใช้แนวคิดและขีดความสามารถของ Network-Centric การเน้นใช้ข้อมูล ข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ การแทนข้อมูลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ ข้อความ เอกสาร รูปภาพ เสียง วิดีโอ ให้การบริการระยะไกลตามความต้องการของผู้ใช้ การ Casting แบบต่างๆ พัฒนาระบบใช้เครือข่ายเป็นแพลตฟอร์มการให้บริการ เว็บบริการ P2P

48 ประยุกต์การบริการข่าวสาร ของห้องสมุดดิจิตอล
“กำลังคน” “เครือข่ายบริการ ทำให้ลดกำลังคน” + E2 ตัวอย่าง กำลังคนลดลง E1 พัฒนาการ เครือข่ายและ เว็บ 2.0 - - + ข้อมูล ข่าวสาร

49 มิติใหม่สู่ห้องสมุดเสมือนจริง
ร่นและลด ระยะเวลา การเข้าถึงความรู้ ลดพื้นที่ลง อย่างต่อเนื่อง เปลี่ยนแปลง แบบต่อเนื่อง คำตอบใหม่ ปรับโครงสร้าง รูปแบบการใช้ความรู้ ใช้เทคโนโลยี วงรอบการทำงานสั้นลง ใช้เวลาจริง ตามกรอบความต้องการ ทำโกลบอลให้เป็นโลคอล ไม่มีขอบเขต ทำให้มองเห็นได้ . ห้องสมุดมีขนาดเล็กลง

50 กรณีศึกษา: ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
ใช้มาตรฐานในการสร้างเว็บเซอร์วิส สำหรับการให้บริการบนเครือข่าย เพื่อการให้บริการแบบเชื่อมโยงระหว่างกัน: มีแผนผังที่เก็บข้อมูล มีคลังข้อมูล มีการตรวจสอบสิทธิการใช้งาน เนื้อหาตรงต้องการ ตรงตามมาตรฐาน รวมกระบวนการทำงานต่างๆเอาไว้เป็น workflow และต้องใช้มาตรฐานตาม W3C XML ต้องมีการทำงานร่วมกันได้อย่างดี

51 ระดับชั้นของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
การเข้าถึง การค้นหา การแสดงและกระบวนการทางธุรกิจ Personalized, Customized Web View E-Book คลังความรู้ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ Content Data โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ 2.0:WebCT,Wiki ควบคุมกระบวนการ ชั้นนำเสนอผู้ใช้ การบูรณาการ ชั้นประยุกต์ คลังข้อมูล เนื้อหา ระดับสนับสนุนงาน การตรวจสิทธิ์ กระบวนงาน Authentication Authorization Metadata

52 อนาคตจากมุมมองของ Bill Gates
จาก: Thailand Digital Inspiration 30 June 2005

53 อนาคตการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทำได้จากทุกที่
การจัดเก็บและการนำมาใช้ การจัดการและจัดรูปแบบการจัดเก็บข่าวสาร การเชื่อมต่อข่าวสารได้ตลอดเวลา การสร้าง วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลข่าวสาร

54 อนาคตกับการทำงานและการใช้ข้อมูลข่าวสาร
การรวมสื่อสารเป็นหนึ่งเดียว บอร์ดแบนด์มีทุกหนทุกแห่ง วัฒนธรรมการดำเนินการเปลี่ยนไป ปฏิรูปการทำงานกับการใช้ข่าวสาร เพิ่มประสิทธิผล การทำงานร่วมกัน เคลื่อนที่ได้ทุกหนแห่ง มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี ใช้ง่าย ชุดซอฟต์แวร์ เครือข่าย อินเทอร์เน็ต อีเมล์ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซอฟต์แวร์สร้างเอกสาร เครื่องพิมพ์เลเซอร์

55 คำถาม ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น คำติชม เสียงบ่น รอยยิ้มเล็กๆ และอื่น ๆ


ดาวน์โหลด ppt หัวข้อที่จะบรรยาย แนวโน้มเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google