งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม รพ หารสอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม รพ หารสอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม รพ หารสอง
คุณกมล ผัดวัง คุณกำพล มงคลสูง คุณเกรียงไกร พรหมเทพ คุณมนู กุลวงศ์ คุณวัชรี จรกา คุณยุทธการ เก่งอนุรักษ์ คุณศุภชัย กิติศรีปัญญา คุณสิทธิชัย พรมมาลา คุณสิทธิโชค แก้ววิมล คุณสุทิน กุมาทะ คุณสุนทร บุญปรุง คุณแสงระวี เจียมศรีสุคนธ์ คุณอินจันทร์ เสริมสุข

2 ผังโครงสร้างคณะกรรมการ
ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คุณสุทิน กุมาทะ อาจารย์ที่ปรึกษา รองประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน เลขานุการ คุณชรินทร์ ริยาพันธ์ อ. ภูมิศิลป์ พละพลีวัลย์ คุณศุภชัย กิติศรีปัญญา กรรมการฝ่ายวิชาการ กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ กรรมการฝ่ายวิศวกรรมและเทคโนโลยี กรรมการฝ่ายบริหารจัดการเชื้อเพลิง กรรมการฝ่ายสิ่งแวดล้อม คุณแสงระวี เจียมศรีสุคนธ์ คุณวัชรี จรกา คุณกมล ผัดวัง คุณสุนทร บุญบำรุง คุณอินจันทร์ เสริมสุข คุณสิทธิชัยพรมมาลา คุณสิทธิโชค แก้ววิมล คุณมนู กุลวงศ์ คุณกำพล มงคลสูง คุณยุทธการ เก่งอนุรักษ์ คุณเกรียงไกร พรหมเทพ

3 นโยบายอนุรักษ์พลังงาน โรงพยาบาล หารสอง
1. ลดการใช้พลังงานทุกประเภทและใช้อย่างประหยัดพลังงานปี 2556 ต่ำกว่าปี 2555 ได้อย่างน้อย 10% และเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องถือปฏิบัติ เผยแพร่นโยบายให้ทุกคนรับทราบและมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง โดยให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของโรงพยาบาล 2. ดำเนินการพัฒนาระบบการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมโดยกำหนดให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานของโรงพยาบาล สอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ 4. กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งมีการติดตาม, ทบทวน, ปรับปรุงนโยบาย เป้าหมายและแผนการดำเนินงานด้านพลังงานทุกปี 5.

4 ผังพื้นที่รับผิดชอบ ward 10

5 ผังพื้นที่รับผิดชอบแผนกธุรการ

6 ผังพื้นที่รับผิดชอบ chiller

7 ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM

8 จุดแข็ง มีนโยบายการจัดการพลังงาน
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM จุดแข็ง มีนโยบายการจัดการพลังงาน มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้านการอนุรักษ์พลังงาน มีการลงทุนในมาตรการอนุรักษ์พลังงาน

9 โอกาสพัฒนา เพิ่มช่องทางการสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM โอกาสพัฒนา เพิ่มช่องทางการสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ การเผยแพร่ข้อมูล/ค่าใช้จ่ายด้านการใช้พลังงาน คณะกรรมการติดตามประเมินผล

10 ผลสำรวจ ก่อนปรับปรุง: หลอดฟลูออเรสเซนต์ ชนิด T8 ขนาด 36+12 = 48 watt จำนวน 39 ชุด
ก่อนเปลี่ยน หลังเปลี่ยน พิกัดกำลังไฟฟ้า watt watt เปอร์เซ็นต์การทำงาน % % เวลาทำงาน ชั่วโมง/วัน ชั่วโมง/วัน วันทำงาน วัน/ปี วัน/ปี กำลังไฟต่อปี Kwh/ปี Kwh/ปี ค่าไฟฟ้า/ปี บาท บาท จะประหยัดได้ X3.7 = บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 14820/ = 0.4 ปี

11 ผลสำรวจ ก่อนปรับปรุง: หลอดฟลูออเรสเซนต์ ชนิด T8 ขนาด 18+10 = 28 watt จำนวน 48 ชุด
ก่อนเปลี่ยน หลังเปลี่ยน พิกัดกำลังไฟฟ้า watt watt เปอร์เซ็นต์การทำงาน % % เวลาทำงาน ชั่วโมง/วัน ชั่วโมง/วัน วันทำงาน วัน/ปี วัน/ปี กำลังไฟต่อปี Kwh/ปี Kwh/ปี ค่าไฟฟ้า/ปี บาท บาท จะประหยัดได้ X3.7 = บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 12800/ = 0.44 ปี

12 ผลสำรวจ ก่อนปรับปรุง:เปลี่ยนหลอด halogen หลอดละ 50 watt
เงินลงทุนในการเปลี่ยนเป็นหลอด LED ชนิด 5 watt จำนวน 1 ชุดๆ 1000 บาท (1000บาท) ก่อนเปลี่ยน หลังเปลี่ยน พิกัดกำลังไฟฟ้า watt watt เปอร์เซ็นต์การทำงาน % % เวลาทำงาน ชั่วโมง/วัน ชั่วโมง/วัน วันทำงาน วัน/ปี วัน/ปี กำลังไฟต่อปี Kwh/ปี Kwh/ปี ค่าไฟฟ้า/ปี บาท บาท จะประหยัดได้ 394.2X3.7 = บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 1000/ = 0.68 ปี

13 ผลสำรวจ ก่อนปรับปรุง: เครื่องปรับธรรมดา 12000 BTU 1.4 Kw/T
เงินลงทุนในการเปลี่ยนเป็นเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง EER = 12 จำนวน 1 ชุดๆ บาท (17000บาท) ก่อนเปลี่ยน หลังเปลี่ยน ประสิทธิภาพ watt/T watt/Tเปอร์เซ็นต์การทำงาน % % เวลาทำงาน ชั่วโมง/วัน ชั่วโมง/วัน วันทำงาน วัน/ปี วัน/ปี กำลังไฟต่อปี Kwh/ปี Kwh/ปี ค่าไฟฟ้า/ปี บาท บาท จะประหยัดได้ X3.7 = บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 17000/ = ปี

14 มาตรการปิดไฟ ใช้แสงธรรมชาติ บริเวณหน้าลิฟท์
ก่อนปรับปรุงเปิดไฟ หลอดฟลูออเรสเซนต์ 36 watt จำนวน 6 หลอด ก่อนเปลี่ยน หลังเปลี่ยน พิกัดกำลังไฟฟ้า watt watt เปอร์เซ็นต์การทำงาน % % เวลาทำงาน ชั่วโมง/วัน ชั่วโมง/วัน วันทำงาน วัน/ปี วัน/ปี กำลังไฟต่อปี Kwh/ปี Kwh/ปี ค่าไฟฟ้า/ปี บาท บาท จะประหยัดได้ 906.6X3.7 = บาท/ปี

15 มาตรการอื่นๆ ทำเครื่อง support ให้ช่างสามารถเข้าไปซ่อมบำรุงได้ง่าย
การเปลี่ยนเป็นหลอด LED ทั้ง โรงพยาบาล จัดนิทรรศการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีส่วนร่วม

16 แผนการดำเนินงาน

17 แผนการตรวจติดตามประจำปี
จัดตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร กำหนดการตรวจติดตามแบบไม่เป็นทางการ (การเยี่ยมพื้นที่) เดือนละ 1 ครั้ง กำหนดการตรวจติดตาม แบบเป็นทางการ ปีละ 2 ครั้ง คณะผู้ตรวจประเมิน ฯ เสนอข้อปรับปรุง ในกรณีที่การดำเนินการจัดการด้านพลังงานไม่เป็นไปตามวิธีการที่กำหนด รายงานและสรุปผลการตรวจติดตามและประเมิน การจัดการด้านพลังงานให้ผู้อำนวยการและ คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล เพื่อทำการทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่อง

18 HK (housekeeping)

19 PI (process improvement)

20 MC (machine change)

21 MC (machine change)

22 MC (machine change)

23 ความในใจ


ดาวน์โหลด ppt รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม รพ หารสอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google